4. Research tool and quality testing ศจีมาจ ณ วิเชียร
ประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง หรือเครื่องมือที่มี อยู่เดิม แบ่งเป็น - เครื่องมือหลักสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ - เครื่องมือทดลอง ได้แก่ เครื่องชั่งน้ำหนัก โปรแกรม เครื่องช่วยสอนบทเรียนคอมพิวเตอร์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS Excel LISREL www.themegallery.com Company Logo
การสังเกต เหมาะกับการวิจัยเชิงบรรยาย/ทดลอง แนวทางในการวิจัย การสังเกต เหมาะกับการวิจัยเชิงบรรยาย/ทดลอง ข้อดี – เก็บกับข้อมูลโดยตรงเหมาะสม กับบุคคลที่ไม่ค่อยมีเวลา การสัมภาษณ์ เป็นการหาข้อมูลจากการสนทนา อย่างมีความหมาย ข้อดี – ได้ข้อมูลละเอียด ลึกซึ้ง การใช้แบบสอบถาม ไม่มีคำตอบถูกผิด สามารถตอบได้หลายประเด็น ข้อดี – เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายจำนวนมาก และ รักษาความลับของแต่ละบุคคลได้ www.themegallery.com Company Logo
ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต, แบบสัมภาษณ์, แบบสอบถาม ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต, แบบสัมภาษณ์, แบบสอบถาม สร้างข้อคำถาม ผู้เชี่ยวชาญ (content validity) แก้ไข ปรับปรุง try out หา reliability (กรณี rating scale) ปรับปรุงข้อคำถาม นำไปใช้เก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจริง www.themegallery.com Company Logo
แบบทดสอบ (Test) เครื่องมือวัดความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ สติปัญญา หรือความถนัดของผู้เข้าทดสอบ และให้ผลเป็นตัวเลข จำแนกเป็น 3 ประเภท แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (achievement test) แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ (personality test) แบบทดสอบวัดความถนัด (aptitude test) www.themegallery.com Company Logo
การหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องมือวัดต่าง ๆ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ก่อนที่จะนำไปใช้เก็บข้อมูลจริง จะต้องผ่านการตรวจหาคุณภาพก่อน เพื่อให้แน่ใจว่าเป็น เครื่องมือที่มีคุณภาพ สามารถวัดในสิ่งที่ต้องการจะวัดได้ คุณภาพของเครื่องมือมี 5 องค์ประกอบ : 1. ความเที่ยงตรง (Validity) 2. ความเชื่อมั่น (Reliability) 3. ความยากง่าย (Difficulty) 4. อำนาจจำแนก (Discrimination) 5. ความเป็นปรนัย (Objectivity) www.themegallery.com Company Logo
ความเที่ยงตรง (Validity) ความสอดคล้องหรือความเหมาะสมของผลการวัดกับเนื้อเรื่อง หรือเกณฑ์ หรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับลักษณะที่มุ่งวัด จำแนกเป็น 4 ประเภท : ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ความสามารถในการวัดกลุ่มเนื้อหาที่ต้องการจะวัดได้ครอบคลุมและเป็นตัวแทนของสิ่งที่ต้องการวัด เช่น วัดความสามารถในการท่องศัพท์ วัดทักษะด้านต่าง ๆ www.themegallery.com Company Logo
Table of specification สมรรถภาพการวิจัย (the uk GRAD programme, 2004 (online)) มิติ สมรรถภาพเรื่อง น้ำหนัก ความสำคัญ จำนวน ข้อคำถาม สมรรถภาพ การวิจัย 1. ทักษะและเทคนิควิจัย 25.0 6 2. ทักษะการหาทุน 7 3. การบริหารงานวิจัย 15.0 4 4. ทักษะสื่อสารสำหรับการวิจัย 20.0 5 5. การสร้างเครือข่ายและทีมวิจัย 3 รวม 100.0 25 www.themegallery.com Company Logo
Content validity มิติที่ นิยามเชิง โครงสร้าง ปฏิบัติการ ข้อคำถาม ระดับความคิดเห็น ข้อ เสนอแนะ IOC สอดคล้อง/ เหมาะสม เฉย ๆ ไม่สอดคล้อง/ ไม่เหมาะสม 1.ด้านความคิด 1.1 ความเป็นผู้ ช่างสงสัย การไม่เชื่อสิ่งต่าง ๆ โดยง่าย ต้องมี หลักฐานหรือเหตุผล ประกอบจึงเชื่อ และ การพิจารณาสิ่ง ต่างๆ ด้วยเหตุผล 1. ท่านเป็นคนที่ ไม่เชื่อสิ่งใด ๆ โดยง่ายหาก ปราศจากข้อมูล ประกอบ 2. การที่ท่านจะ เชื่อในสิ่งใด ๆ ท่านจะพิจารณา โดยยึดความมี เหตุผลเป็นหลัก www.themegallery.com Company Logo
การหาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา ทำได้โดยการหาค่า IOC (Index of Item-Objective Congruence) จากผู้เชี่ยวชาญ R = ผลรวมคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ N = จำนวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด IOC 0.5 www.themegallery.com Company Logo
ความเที่ยงตรง (Validity) (ต่อ) ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) : ความสามารถของเครื่องมือวัดได้ตรงตามลักษณะที่มุ่งวัดโดยผลการวัดมีความสอดคล้องกับโครงสร้าง/ทฤษฎี ของลักษณะที่มุ่งวัดนั้น จำแนกได้ 3 วิธี : 1. การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) หาความสัมพันธ์ของแบบทดสอบ 2 ชุดที่วัดในเรื่องเดียวกัน 2. เปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีลักษณะต้องการวัด อย่างเด่นชัด (Know Group Technique) โดยใช้การเปรียบเทียบด้วย t-test 3. การวิเคราะห์องค์ประกอบ www.themegallery.com Company Logo
การวิเคราะห์องค์ประกอบ www.themegallery.com Company Logo
ความเที่ยงตรง (Validity) (ต่อ) ความเที่ยงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) : ความสามารถในการวัดลักษณะที่สนใจได้ตรงตามสภาพของสิ่งนั้น เช่น ผู้ที่เรียนเก่งต้องทำแบบทดสอบได้สูงสุด การหาความเที่ยงตรงตามสภาพ การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้กับคะแนนที่วัดได้จากเครื่องมือมาตรฐานอื่นซึ่งสามารถวัดสิ่งนั้นได้ในสภาพปัจจุบัน www.themegallery.com Company Logo
ความเที่ยงตรง (Validity) (ต่อ) ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity) : ความสามารถในการวัดลักษณะที่สนใจได้ตรงตามลักษณะของสิ่งนั้นที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การหาความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้กับคะแนนที่วัดได้จากเครื่องมือมาตรฐานอื่นซึ่งสามารถวัดสิ่งนั้นที่จะเกิดในอนาคต www.themegallery.com Company Logo
การหาความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง การหาความเที่ยงตรงตามสภาพ การหาความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ โดยการหาความสัมพันธ์ ใช้สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน rXY = สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ N = จำนวนคู่ของคะแนน X = คะแนนชุดที่ 1 Y = คะแนนชุดที่ 2 www.themegallery.com Company Logo
ความเชื่อมั่น (Reliability) ความคงที่หรือความคงเส้นคงวาของผลที่ได้จากการวัดซ้ำ วิธีการหาความเชื่อมั่น : การทดสอบซ้ำ (Test-Retest) 2. การใช้ข้อสอบเหมือนกัน (Equiv.-Form Reliability) 3. การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง (Spilt Half Reliability) 4. การหาความคงที่ภายในโดยใช้สูตร KR-20, KR-21 5. การทดสอบวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา www.themegallery.com Company Logo
ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ) การทดสอบซ้ำ Test-Retest Reliability ความคงเส้นคงวาของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาที่ต่างกันโดยวิธีสอบซ้ำด้วยแบบทดสอบเดิม การหาค่าความเชื่อมั่น: การทดสอบซ้ำ ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือเดียวกัน โดยทำการวัดสองครั้งในเวลาที่ต่างกัน www.themegallery.com Company Logo
ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ) การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน Equivalent-Forms Reliability ความสอดคล้องกันของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาเดียวกันโดยใช้แบบทดสอบที่สมมูลกัน การหาค่าความเชื่อมั่น: การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือ 2 ฉบับที่ทัดเทียมกัน www.themegallery.com Company Logo
ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ) การทดสอบแบบการทดสอบแบบแบ่งครึ่ง Split-Half Reliability เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการหาความคงที่ภายใน โดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวและสอบครั้งเดียวแต่แบ่งข้อสอบเป็น 2 ส่วน คือ ข้อคู่ และข้อคี่ การหาค่าความเชื่อมั่น: การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากการแบ่งครึ่งข้อสอบที่สมมูลกันโดยใช้สูตร Spearman Brown www.themegallery.com Company Logo
ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ) การทดสอบโดยการหาความคงที่ภายใน Kuder-Richardson Reliability เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบทดสอบหรือแบบสอบถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ การหาค่าความเชื่อมั่น: การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรายข้อ (ให้คะแนนแบบ 0-1) และคะแนนรวมใช้สูตร Kuder-Richardson (KR-20, KR-21) www.themegallery.com Company Logo
ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ) การทดสอบโดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่า Alpha Coefficient Reliability เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบทดสอบหรือแบบสอบถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ (คะแนนตั้งแต่ 0-...) การหาค่าความเชื่อมั่น: การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรายข้อ และคะแนนรวมใช้สูตรคำนวณสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach) www.themegallery.com Company Logo
ความยากง่าย (Difficulty) ระดับความยากง่ายของข้อสอบ หากผู้เรียนทำได้มาก แสดงว่าง่าย หากผู้เรียนทำได้น้อย แสดงว่ายาก ค่า P ที่ใช้ได้ก็คือ .20 - .80 ค่า P ที่เหมาะสม คือ .50 สูตรที่ใช้คือ P = ความยากง่าย R = จำนวนผู้เรียนที่ตอบคำถามข้อนั้นถูกต้อง N = จำนวนผู้เรียนทั้งหมด www.themegallery.com Company Logo
ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination) ความสามารถของแบบทดสอบ ในการจำแนกกลุ่มออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ เช่น เก่ง-อ่อน เห็นด้วย-ไม่เห็นด้วย เขียนแทนด้วย D มีค่าระหว่าง +1.00 ถึง -1.00 มีความหมายดังนี้ : D > .40 : ดีมาก D > .30 - .39 : ดี D > .20 - .29 : พอใช้ได้ D < .19 : ยังต้องปรับปรุง D ติดลบ : ใช้ไม่ได้ ต้องตัดทิ้ง www.themegallery.com Company Logo
การหาค่าอำนาจจำแนก การตรวจให้คะแนน นำแบบทดสอบไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้วตรวจให้คะแนน เรียงลำดับคะแนนจากสูงไปต่ำ คัดเลือกออกมา 1/3 จากกลุ่มสูงเป็นกลุ่มเก่ง คัดเลือก 1/3 จากกลุ่มล่างเป็นกลุ่มอ่อน แทนค่าในสูตร Ru = จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ถูกในกลุ่มเก่ง RL = จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ถูกในกลุ่มอ่อน N = จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด www.themegallery.com Company Logo
การหาค่าอำนาจจำแนก การหาค่าสหสัมพันธ์ Point-Biserial Correlation คำตอบถูกเป็น 1 และผิดเป็น 0 แล้วนำมาแทนค่าในสูตร = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นได้ = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นไม่ได้ = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นได้ = สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นไม่ได้ St p q www.themegallery.com Company Logo
การหาค่าอำนาจจำแนก การใช้ตารางสำเร็จรูปของจุงเตฟาน นำแบบทดสอบไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้วตรวจให้คะแนน เรียงลำดับคะแนนจากสูงไปต่ำ คัดเลือกออกมา 27% จากกลุ่มสูงเป็นกลุ่มเก่ง คัดเลือก 27%จากกลุ่มล่างเป็นกลุ่มอ่อน แทนค่าในสูตรการใช้สัดส่วน จากนั้นเปิดตารางสำเร็จรูปเพื่อหาค่าอำนาจจำแนก www.themegallery.com Company Logo
ความเป็นปรนัย (Objectivity) ความชัดเจนของแบบทดสอบหรือคำถามที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน รวมทั้งการตรวจให้คะแนนมีเกณฑ์ที่แน่นอน ความเป็นปรนัย มีองค์ประกอบ 3 ประการ : ความแจ่มชัดในความหมายของแบบทดสอบ ความแจ่มชัดในวิธีการตรวจให้คะแนน ความแจ่มชัดในการแปลความหมายของคะแนน การหาความเป็นปรนัยที่นิยมปฏิบัติกัน คือ ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาและตรวจสอบ www.themegallery.com Company Logo