คำสั่งควบคุมเงื่อนไข และการทำงานเป็นรอบ
คำสั่งควบคุมเงื่อนไข (if-statement) ประโยคคำสั่งเพื่อตรวจสอบเงื่อนไข มี 4 แบบ คำสั่งเงื่อนไข if – หากเงื่อนไขที่กำหนด เป็นจริง คำสั่งต่างๆ ที่อยู่ภายในบล็อกของเงื่อนไข if จะได้รับการประมวลผล รูปแบบ if (เงื่อนไข) { คำสั่งที่ 1; } คำสั่งที่ 2; บล็อกของเงื่อนไข if
Flowchart แสดงการทำงานของ if เงื่อนไข คำสั่งที่ 1 คำสั่งที่ 2 จริง เท็จ
2. คำสั่งเงื่อนไข if-else เมื่อประมวลผลในบล็อกของ else แล้วจะทำตามคำสั่งที่อยู่ถัดจาก if-else นั้นต่อไป if (เงื่อนไข) { คำสั่งที่ 1; } Else { คำสั่งที่ 2; คำสั่งที่ 3; บล็อกของเงื่อนไข if (อยู่หลัง if) บล็อกของ else (อยู่หลัง else)
Flowchart แสดงการทำงานของ if-else เงื่อนไข คำสั่งที่ 1 คำสั่งที่ 3 จริง เท็จ คำสั่งที่ 2
3. คำสั่ง nested if (if ซ้อน if) { คำสั่งที่ 1; } else if (เงื่อนไขที่ 2) { คำสั่งที่ 2; if (เงื่อนไขที่ 3) { คำสั่งที่ 3; Else { คำสั่งที่ 4; คำสั่งที่ 5; ตรวจสอบเงื่อนไขหากเป็นจริงให้ทำคำสั่งที่ 1 ถ้าเป็นเท็จ – จะไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่ (ทำหลัง else) ทำการตรวจสอบเงื่อนไขใหม่หากเป็นจริงให้ทำคำสั่งที่ 2 ถ้าเป็นเท็จ – จะไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่ (ทำหลัง else ทำการตรวจสอบเงื่อนไขใหม่หากเป็นจริงให้ทำคำสั่งที่ 3 ถ้าเป็นเท็จ – ทำหลัง else คือ คำสั่งที่ 4 ทันที เพราะ ไม่มีเงื่อนไขให้ตรวจสอบอีก เมื่อทำการตรวจสอบเงื่อนไขครบตามคำสั่งของ nested if แล้ว จำทำตามคำสั่งที่ 5 ต่อไป
Flowchart แสดงการทำงานของ nested if หรือ if..else if เงื่อนไข คำสั่งที่ 3 คำสั่งที่ 5 จริง เท็จ คำสั่งที่ 2 คำสั่งที่ 1 คำสั่งที่ 4
4. คำสั่งเงื่อน switch-case คำสั่งที่ 1; break; case ค่าที่ 2: คำสั่งที่ 2; case ค่าที่ 3: คำสั่งที่ 3; default: คำสั่งที่ 4; } ใช้ switch ตรวจสอบค่าตัวแปรหรือนิพจน์ ว่าตรงกับ case ใด ก็จะทำงานตาม case นั้น คำสั่ง break เป็นคำสั่งปิดการทำงานของแต่ละ case ถ้าตรวจสอบแล้วไม่ตรงกับ case ใด จะเข้าสู่การทำงานภายใต้ default
Flowchart แสดงการทำงานของ switch-case switch (interger_expression case value 1 .... case value 2 case value 3 default Integer_expression – ค่าจำนวนเต็มที่นำมาใช้ตรวจสอบเงื่อนไข case – เงื่อนไขที่อยู่ในแต่ละ case default – เงื่อนไขที่ไม่อยู่ในทุก case break – ซึ่งมีในแต่ละ case ต้องใส่ทุกครั้งเพื่อให้หลุดออกจาก case
การทำงานเป็นรอบหรือการทำซ้ำ (Loop)
การทำงานเป็นรอบ (Loop) คำสั่ง for รูปแบบ : for (กำหนดค่าเริ่มต้นให้ตัวแปร; เงื่อนไขที่ต้องการตรวจสอบ; ปรับค่าตัวแปร) { คำสั่งที่ 1; } คำสั่งที่ 2;
Flowchart แสดงการทำงานของ for
2. คำสั่ง while รูปแบบ : while (เงื่อนไข) { คำสั่งที่ 1; } คำสั่งที่ 2; บล็อก/ลูปของ while (อยู่หลัง while) ทำการตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการประมวลผลทุกครั้ง ตรวจสอบแล้วเงื่อนไขเป็นจริง – เข้าไปทำงานในบล็อกของ while (ทำงานในคำสั่งที่ 1) เมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วเป็นเท็จ – ออกไปทำคำสั่งที่ 2
Flowchart แสดงการทำงานของ while
2. คำสั่ง while รูปแบบ : do { คำสั่งที่ 1; } While (เงื่อนไข);คำสั่งที่ 2; บล็อก/ลูปของ do-while (อยู่หลัง do) ประมวลผลอย่างน้อย 1 ครั้งก่อนเสมอ ไม่ว่าเงื่อนไขนั้นจะเป็นจริงหรือเท็จ ตรวจสอบเงื่อนไข หากเงื่อนไขเป็นจริง – เข้าไปทำงานในลูปของ do-while (ทำงานในคำสั่งที่ 1) เมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วเป็นเท็จ – ออกไปทำงานนอกลูป (ทำคำสั่งที่ 2)
Flowchart แสดงการทำงานของ do-while