คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

Suphot Sawattiwong Array ใน C# Suphot Sawattiwong
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
File.
Object and classes.
LAB # 4.
05_3_Constructor.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
ครั้งที่ 7 Composition.
หลักการเชิงวัตถุ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Selected Topics in IT (Java)
การสืบทอด (Inheritance)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (2).
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (1).
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
อาร์เรย์ (Array).
Lecture 9 Class (คลาส) To do: Hand back assignments
Inheritance การสืบทอดคลาส
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Algorithm มหาวิทยาลัยเนชั่น Java Pre-Test 49 (Series 1, 2 )
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 มิถุนายน 2550 Method of Class มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 7 มิถุนายน 2556 Text File Processing มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 22 มิถุนายน 2550 ความผิดพลาดที่พบ บ่อย มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
บทที่ 6 เมธอด.
ทำงานกับ File และStream
คณิตศาสตร์ และการจัดรูปแบบ
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
Lec03 :: หลักการเชิงออปเจ็ค (Object Oriented Concept)
Lec05 :: การสืบทอด (inheritance)
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
Object-Oriented Programming
Advanced Class Design in Java Java Packages Week #6 Jarungjit Parnjai
บทที่ 3 Class and Object (2).
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 5 คำสั่งควบคุม แบบวนซ้ำ รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 5.
Java collection framework
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
การสืบทอด (inheritance)
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
Object-Oriented Programming
คอนสตรัคเตอร์ (Constructor)
การจัดการกับความผิดปกติ
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
Chapter 6 Abstract Class and Interface
บทที่ 3 การสืบทอด (Inheritance)
Chapter 5 การจัดการข้อผิดพลาด (Exception Handling)
Method and Encapsulation
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object) บทที่ 2 คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)

WEEK4: LAB w4_000.rar การใช้งานเมธอดจากคลาสที่ต่างกัน ข้อ 19, 22

การเรียกใช้งานเมธอดที่กำหนดขึ้นในคลาส สามารถทำได้ 2 รูปแบบ คือ ใช้งานจากคลาสที่ต่างกัน สร้างออบเจ็กต์จากคลาสที่มีเมธอดที่เราต้องการเรียกใช้งาน และเรียกใช้เมธอดผ่านออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้น เมธอดดังกล่าวต้องไม่มี access modifier เป็นแบบ private ใช้งานภายในคลาสเดียวกัน เรียกผ่านชื่อเมธอดได้โดยไม่ต้องสร้างออบเจ็กต์ เมธอดดังกล่าวต้องไม่เป็นเมธอดแบบ static

ขั้นตอนการใช้งานเมธอดจากคลาสที่ต่างกัน การประกาศคลาส การประกาศแอตทริบิวต์  การประกาศเมธอด การประกาศออบเจ็กต์ การเข้าถึงสมาชิกของคลาส เรียกใช้แอตทริบิวต์หรือเมธอด ผ่านออบเจ็กต์ที่สร้าง product p = new product(); double totalPrice = p.calProduct(productPrice);

โปรแกรมข้อ 17 (1) คลาส discount ประกอบด้วยเมธอดตรวจสอบส่วนลด boolean checkDiscount(double price) ที่ราคาสินค้า มากกว่า 5,000 บาท จะมีส่วนลด 5% ของราคาสินค้า และ เมธอดคำนวณส่วนลด double calDiscount(double price) จงเขียนโปรแกรมสร้างคลาส discount และเขียนโปรแกรมรับข้อมูล เรียกใช้เมธอด แสดงผลราคาสินค้า ส่วนลด ราคาสินค้าสุทธิ (ราคาสินค้า – ส่วนลด) ในกรณีที่มีส่วนลดจึงจะเรียกใช้เมธอดคำนวณส่วนลด

โปรแกรมข้อ 17 (2) // Java Class >>> discount.java public class discount { public boolean checkDiscount(double price) { } public double calDiscount(double price) { // Java Main Class >>> ex17.java import java.util.Scanner; public class ex17 { public static void main(String[] args) { Scanner scan = new Scanner(System.in); System.out.print("Enter product price >>> "); double productPrice = scan.nextDouble(); discount d = new discount(); …………………………………. }

โปรแกรมข้อ 22 (1) : Array คลาส student ประกอบด้วยเมธอดคำนวณคะแนนต่ำสุด double calMinScore(double[] scores) จงเขียนโปรแกรมสร้างคลาส student และเขียนโปรแกรมรับข้อมูลคะแนนนักเรียนจำนวนหนึ่ง (คะแนนต้องไม่เป็นค่าลบ ไม่มากกว่า 30 คะแนน) เรียกใช้เมธอด แสดงผลคะแนนของนักเรียนแต่ละคน และคะแนนต่ำสุด

โปรแกรมข้อ 22 (2) // Java Class >>> student.java public class student { public double calMinScore(double[] scores) { } // Java Main Class >>> ex15.java import java.util.Scanner; public class ex15 { public static void main(String[] args) { int[] scores; int i=0; scores = new int[100]; Scanner scan = new Scanner(System.in); do { System.out.print("Enter score >>> "); …………………………………. } while(…….); student s = new student (); double min = s. calMinScore(scores); }