เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

แนะนำกองทุนรวมจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมชั้นนำ
กองทุนรวมของ MFC.
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
สมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเอง นำเสนอต่อ
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
การดำเนินการ เพื่อกำหนดเป็นมาตรฐานให้บริษัทจัดการสามารถดำเนินธุรกิจในการจัดการกองทุนของตนด้วยความโปร่งใส และคำนึงถึงประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ สำนักงานได้ออกประกาศที่
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
1. การบริหารจัดการข้อมูลธุรกิจ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
รายงานผลการดำเนินงานของกองทุนรายเดือน
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
1.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1 ประกาศเรื่อง การลงทุนและ การมีไว้เพื่อเป็นทรัพย์สินของ กองทุน.
คณะกรรมการกองทุน..... บทบาทเพื่อสมาชิก โดย นายธารทอง ไตรน รพงศ์ อุปนายกสมาคมกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ.
ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดย สุรีรัตน์ สุรเดชะ ผู้ช่วยผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายกำกับธุรกิจแนะนำการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 8 มีนาคม 2550

หัวข้อวันนี้ แนวคิดในการกำหนด Benchmark บทบาทและหน้าที่ของบริษัทจัดการ

แนวคิดในการกำหนด Benchmark เพื่อให้มีเครื่องมือในการวัดความสามารถของบริษัทจัดการในแต่ละช่วงเวลา เพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ

ปัญหาของ Benchmark ที่ใช้ในอดีต ใช้ตัวชี้วัดหลายตัว ได้แก่ ดอกเบี้ยเงินฝาก, Total Return ของ TBDC Government Bond Index และ TBDC Corporate Bond Index, SET Index Return โดยไม่คำนึงถึงการจัดสรรเงินลงทุน

ปัญหาของ Benchmark ที่ใช้ในอดีต คณะกรรมการกองทุนส่วนใหญ่ให้ความสนใจเฉพาะการเปรียบเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำเป็นหลัก ไม่มีการถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ Benchmark ที่สอดคล้องกับสัดส่วนการลงทุนของกองทุนในทรัพย์สินแต่ละประเภท ทำให้ไม่สามารถเปรียบเทียบผลการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม

ปัญหาของ Benchmark ที่ใช้ในอดีต การลงทุนของกองทุนส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกับ TBDC Government Bond Index และ sub group index ในเรื่อง duration และ credit quality TBDC Corporate Bond Index ไม่สะท้อนราคาตลาดที่แท้จริง เนื่องจากหุ้นกู้มีสภาพคล่องต่ำ ทำให้ index ไม่ค่อยมีการเคลื่อนไหว

วัตถุประสงค์ในการปรับปรุง Benchmark เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนมีเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพในการกำกับดูแลการบริหารจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อประโยชน์ของสมาชิกกองทุนอย่างแท้จริง

ประโยชน์ของ Benchmark ตามเกณฑ์ใหม่ คณะกรรมการกองทุนมีตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายการลงทุนที่แท้จริง คณะกรรมการกองทุนสามารถวัดฝีมือผู้จัดการกองทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้จัดการกองทุนสามารถพิสูจน์ความสามารถใน การบริหารจัดการได้อย่างแท้จริง

เกณฑ์ Benchmark ใหม่ หลักการ : Benchmark ต้องสอดคล้อง กับ Underlying Assets

เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ประกาศสมาคมบริษัทจัดการที่ สจก.กช. 1/2549 ตราสารหนี้ภาครัฐ Total Return of ThaiBMA Government Bond Index ในกรณีที่ไม่กำหนด target duration ของกองทุน หรือ 2. ThaiBMA Zero Rate Return “ZRR” Government Bond Index ที่มีอายุเท่ากับ target duration ของกองทุน

เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ตราสารหนี้ภาคเอกชน Total Return of ThaiBMA Composite Bond Index ในกรณีที่ไม่กำหนด target duration ของกองทุน หรือ 2. ThaiBMA Zero Rate Return “ZRR” Government Bond Index ที่มีอายุเท่ากับ target duration ของกองทุน

เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ตราสารทุน : SET Index Return หรือ เงินฝากประจำ : อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปีวงเงิน 1 ล้านบาทที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พึงได้รับ เฉลี่ยของ BBL, KBANK, SCB, KTB

เกณฑ์ Benchmark ใหม่ กรณีกองทุนผสม ต้องใช้ Composite Benchmark โดยในส่วนของตราสารทุน จะใช้น้ำหนักการลงทุนในหุ้นไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของสัดส่วนการลงทุนต่ำสุดและสูงสุด (min +max)/2) ตามที่กำหนดไว้ในนโยบายการลงทุน

เกณฑ์ Benchmark ใหม่ สินทรัพย์อื่นนอกเหนือจากที่มีการระบุใน สจก.กช. 1/2549 ให้ยึดหลักการ Benchmark ต้องสอดคล้องกับ Underlying Assets ในการพิจารณาเพื่อกำหนด Benchmark ที่เหมาะสม

การเปิดเผยค่าความเสี่ยง กองทุนตราสารทุน : Information ratio (IR) กองทุนตราสารหนี้และกองทุนผสม : 1. ค่า IR 2. ค่า duration ของกองทุน 3. สัดส่วนการลงทุนในตราสารหนี้ต่อ NAV จำแนกตามอันดับความน่าเชื่อถือ

บทบาทและหน้าที่ของบริษัทจัดการ ชี้แจงให้คณะกรรมการกองทุนทราบถึงความสำคัญของ Benchmark และเหตุผลของการปรับเกณฑ์ Benchmark ใหม่ ให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนเกี่ยวกับเกณฑ์และวิธีการคิด Benchmark ใหม่

บทบาทและหน้าที่ของบริษัทจัดการ จัดทำและเสนอ Benchmark ตามเกณฑ์ใหม่ โดยให้ยึดมาตรฐานตาม สจก.กช. 1/2549 เป็นเกณฑ์ขั้นต่ำ เปิดเผยผลการดำเนินงานของกองทุนเทียบกับ Benchmark ใหม่

กำหนดเวลาดำเนินการ Benchmark ใหม่เริ่มใช้แล้วตั้งแต่ 1 มกราคม 2550

แนวปฏิบัติกรณีเป็น Co-Manager บริษัทจัดการ 2 ราย หรือมากกว่า ร่วมกันจัดการกองทุนเดียวกัน นโยบายการลงทุนเหมือนกันควรใช้ Benchmark ตัวเดียวกัน

การใช้ Benchmark อ้างอิง ในการคิดค่าธรรมเนียม บริษัทจัดการที่มีความสามารถสูงกว่าที่คาดหวังควรได้รับผลตอบแทนที่สูงขึ้น (pay for performance) Benchmark ที่ใช้วัดฝีมือบริษัทจัดการควรเป็น ตัวเดียวกับที่ใช้คำนวณค่าธรรมเนียมการจัดการ

ภาพในอนาคต ความสามารถในการสร้างผลตอบแทนตามระดับความเสี่ยงที่ลูกค้ายอมรับได้ แข่งขันที่ฝีมือไม่ใช่แข่งที่ราคา ลูกค้าจะดูที่ Net Return

เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ