ใบ Leaf or Leaves.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
Advertisements

อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
บัวงาม กรุณารอสักครู่
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ลำต้น (Stem) ลำต้นเป็นส่วนที่ยืดตรงอยู่เหนือดิน โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นทรงกระบอกแนวตั้ง แต่ก็มีลำต้นบางชนิดอยู่ใต้ดิน บางชนิดทอดไปตามดิน (
การจัดเรียงตัวของเส้นใบ แบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
Habit of Plant……....
ประโยชน์ในผักแต่ละสี
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
การจำแนกพืช.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ( เพิ่มเติม ) ว 40243
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ความหลากหลายของพืช.
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
ใบไม้.
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วย.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
ประเภทของมดน่ารู้.
Welcome to .. Predator’s Section
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ดอกไม้ฤดูหนาว.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
Pasture and Forage Crops Glossary
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ใบ Leaf or Leaves

ใบ คือ อวัยวะของพืชที่เจริญออกมาจากข้อของลำต้นและกิ่ง ใบส่วนใหญ่จะมีสารสีเขียวเรียกว่า คลอโรฟิลล์ ใบมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช ใบประกอบด้วย ก้านใบ แผ่นใบ เส้นกลาง และเส้นใบ

ใบพลู

ใบตำลึง

ใบบัว

ใบชงโค

ใบมะม่วง

ใบขนุน

นอกจากนี้ใบของพืชยังมีลักษณะอื่นๆ ที่แตกต่างกันอีก ได้แก่ ขอบใบ พืชบางชนิดมีขอบใบเรียบ บางชนิดมีขอบใยหยัก ผิวใบ พืชบางชนิดมีผิวใบเรียบเป็นมัน บางชนิดมีผิวใบด้านหรือขรุขระ สีของใบ พืชส่วนใหญ่จะมีใบสีเขียว แต่บางชนิดมีใบสีอื่น เช่น แดง ส้ม เหลือง เป็นต้น เส้นใบ เส้นใบของพืชมีการเรียงตัวใน 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) เรียงตัวแบบร่างแห เช่น ใบมะม่วง ตำลึง อัญชัน ชมพู่ เป็นต้น 2) เรียงตัวแบบขนาน เช่น ใบกล้วย หญ้า อ้อย มะพร้าว ข้าว เป็นต้น

ชนิดของใบ ใบเดี่ยว คือ ใบที่มีแผ่นใบเพียงแผ่นเดียวติดอยู่บนก้านใบที่แตกออกจากกิ่งหรือลำต้น เช่น ใบมะม่วง ชมพู่ กล้วย ข้าว ฟักทอง ใบเดี่ยวบางชนิดอาจมีขอบใบเว้าหยักลึกเข้าไปมากจนดูคล้ายใบประกอบ เช่น ใบมะละกอ สาเก มันสำปะหลัง เป็นต้น ใบประกอบ คือ ใบที่มีแผ่นใบแยกเป็นใบย่อยๆ หลายใบ

หน้าที่ของใบ สร้างอาหาร ใบของพืชจะดูกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อนำไปสร้างอาหาร เรียกกระบวนการสร้างอาหารของพืชว่า การสังเคราะห์ด้วยแสง คายน้ำ พืชคายน้ำทางปากใบ หายใจ ใบของพืชจะดูดแก๊สออกซิเจนและคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

นอกจากนี้ใบยังอาจเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทำหน้าที่พิเศษอื่นๆ สะสมอาหาร เช่น ใบว่านหางจระเข้ กลีบของกระเทียม และหัวหอม เป็นต้น

ขยายพันธุ์ เช่น ใบคว่ำตายหงายเป็น ใบเศรษฐีพันล้าน เป็นต้น

ใบเศรษฐีพันล้าน

ยึดและพยุงลำต้นให้ไต่ขึ้นที่สูงได้ เช่น ใบตำลึง ใบมะระ และถั่วลันเตา เป็นต้น

ล่อแมลง เช่น ใบดอกของหน้าวัว ใบดอกของเฟื่องฟ้า

ดักและจับแมลง ทำหน้าที่จับแมลงเป็นอาหาร เช่น ใบหม้อข้าวหม้อแกงลิง ใบกาบหอยแครง เป็นต้น

ใบกาบหอยแครง

ลดการคายน้ำของใบ เช่น ใบกระบองเพชรจะเปลี่ยนเป็นหนามแหลม

จัดทำโดย มาสเตอร์นพดล ปัญญาดี จัดทำโดย มาสเตอร์นพดล ปัญญาดี