เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: เงินเฟ้อ VS วิกฤตยูโร NIDA Macro Forecast

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ETF & Mutual Fund กองทุนรวม ซื้อขายโดยดูความสามารถของกองทุนฯนั้นๆเป็นหลัก แต่ ETF ดูที่สินทรัพย์อ้างอิง NAV ของกองทุนฯ ดูเมื่อสิ้นวัน แต่ ETF นั้น ดูแบบ.
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting)
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
Product and Price ครั้งที่ 8.
300 Baht ประเทศไทยกับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ 12 กันยายน 2554
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือน สิงหาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือน ตุลาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
ธุรกิจสินเชื่อที่อยู่อาศัย
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
กันยายน 2555 ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์
NIDA Macro Forecast แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2013 – 2014 โดยนิด้าโมเดล
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ห้องแกรนด์ บอลรูม ชั้น G โรงแรมรามาการ์เด้นส์
แถลงข่าวดัชนีราคา เดือนมีนาคม 2549 โดย นายการุณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อนาคตเศรษฐกิจประเทศไทย
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
SWOT. ปี 2011* ปี 2012 (e) GDP,current prices,bil Eur. (US $ Billion) 148 ( )155.2 (215.8) GDP per capita Eur. ( US $ ) 14,800 (20,808 ) 14,830.
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ต้นทุนการผลิต.
การเปรียบเทียบสินค้าส่งออก ของไทยกับกลุ่มประเทศอาเซียน
สมพงศ์ อ่อนประเสริฐ พาณิชย์จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี การเคลื่อนไหวราคาสินค้าเดือนมกราคม 2551 และแนวโน้ม.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
การวัดการวิจัยในการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: เงินเฟ้อ VS วิกฤตยูโร NIDA Macro Forecast 6 กรกฎาคม 2012 ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์ ผู้อำนวยการหลักสูตรเศรษฐศาสตร์การเงิน คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Key Assumptions   2011 2012F 2013F Government Policy Public Consumption 0.7 4.3 3.0 Public Investment -8.6 11.8 10.2 External Factors World Import Value 13.9 11.5 12.3 Crude Oil Price 104.0 107.8 131.0 เศรษฐกิจโลกจะทยอยฟื้นตัวอย่างช้าๆ ในปี 2012 และจะดีขึ้นในปี 2013 ส่งผลต่อมูลค่าการค้า โลกและราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกจะค่อย ๆ ปรับตัวเพิ่มขึ้นช้า ๆ ในปี 2012 และจะเพิ่มขึ้นใน อัตราที่สูงขึ้นในปี 2013 นโยบายการขึ้นค่าจ้างแรงงานขึ้นต่ำจาก 215 บาทเป็น 300 บาท ไตรมาสที่ 2/2012 และคงที่ จนถึงสิ้นปี 2013 การใช้จ่ายภาครัฐในปี 2012 และ 2013 จะเพิ่มขึ้นจากปี 2011 โดยเฉพาะโครงการลงทุนขนาด ใหญ่ และโครงการที่ล่าช้าจากปี 2011

NIDA MACRO FORECAST: 2012 - 2013

GDP GROWTH OUTLOOK: 2012 - 2013

International Trade Outlook: 2012 - 2013

International Trade OUTLOOK: 2012 - 2013

Monetary Policy ตารางจาก http://www.facebook.com/mfenida

Summary of Economics Outlook: 2012 NIDA Macro Forecast ประมาณการว่าเศรษฐกิจในปี 2012 จะขยายตัว ร้อยละ 5.5 ลดลงจากค่าพยากรณ์ครั้งที่ผ่านมาเมื่อเดือนมีนาคมซึ่งคาด ว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวร้อยละ 5.8 เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 1 ที่ผ่านมาขยายตัวร้อยละ 0.3 (YoY) สูง กว่าที่พยากรณ์ไว้ในครั้งที่ผ่านมา (-1.6 YoY) ซึ่งสาเหตุหลักมากจาก การสะสมสินค้าคงคลังจำนวนมาก และการบริโภคภาคเอกชนที่ไม่ ลดลงมากเหมือนที่เคยคาดการณ์ไว้ (ขยายตัวร้อยละ 2.7 YoY เทียบกับ ที่เคยคาดการณ์ไว้ที่ 0.5)

Summary of Economics Outlook: 2012 - 2013 อย่างไรก็ตามการปรับลดประมาณการในไตรมาสนี้เกิดจากปัญหา เศรษฐกิจโลกที่น่าจะส่งให้มูลค่าการค้ารวมของโลกชะลอตัว โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 2 นี้ทำให้ส่งผลต่อการส่งออกในช่วงเวลา ที่โรงงานกลับมาฟื้นฟูกำลังการผลิตได้แล้ว ส่วนผลของการสะสมสินค้าคงคลังไม่น่าจะส่งผลต่อการขยายตัวใน ไตรมาสถัดไป ทำให้มีการปรับลดประมาณการลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับ ครั้งที่ผ่านมา ส่วนปี 2013 คาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัว 5.8% จากการฟื้นตัวของการ ส่งออก

Inflation Pressure: 2012 ถึงแม้ว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในไตรมาสที่ 2 นี้ (ประมาณการที่ร้อยละ 2.5) จะปรับลดลงจากในไตรมาสที่ 1 (ร้อยละ 3.4) แต่ตัวเลขนี้ไม่ แตกต่างจากที่เคยประมาณการไว้ในการวิเคราะห์ครั้งที่แล้วมากนัก ซึ่ง สาเหตุมาจากการเปรียบเทียบกับปีฐานในไตรมาสที่ 2/2011 ซึ่งสูงกว่า ในไตรมาสที่ 1/2011 และการลดลงของราคาน้ำมันดิบจากปัญหาใน Euro Zone คาดว่าในไตรมาสที่ 3 – 4 ในปี 2012 นี้อัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อย ละ 3.7 และ 4.1 ตามลำดับ โดยมีแรงกดดันจากการปรับขึ้นค่าจ้างขั้น ต่ำซึ่งใช้เวลาประมาณ 1-2 ไตรมาสในการส่งผ่าน และราคาน้ำมันดิบ ในตลาดโลกที่คาดว่าจะมีการปรับตัวสูงขึ้นในครึ่งปีหลัง

Inflation Pressure for 2012 NIDA Macro Forecast ประมาณการว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและอัตรา เงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยทั้งปี 2012 จะอยู่ที่ร้อยละ 3.5 และ 2.8 ตามลำดับ (เพิ่มขึ้นจากครึ่งแรกของปีซึ่งเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 2.95 และ 2.4 ตามลำดับ ในปี 2013 อัตราเงินเฟ้อจะยังคงอยู่ในระดับที่สูงอยู่ในช่วงครึ่งแรกของ ปี ก่อนจะค่อยๆ ลดลงในช่วงครึ่งหลัง ผลของแรงกดดันเงินเฟ้อทำให้โอกาสการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย การเงินยังมีน้อยในปี 2555

Monetary Policy in 2012 ในช่วงครึ่งปีหลังคาดว่าอัตราดอกเบี้ยน่าจะทรงตัว แต่หากจะมีโอกาส ปรับเปลี่ยนโอกาสในการปรับขึ้นจะมากกว่าโอกาสการปรับลงเล็กน้อย เนื่องจาก แรงกดดันเงินเฟ้อจากการปรับเพิ่มของค่าจ้างแรงงาน อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่ยังติดลบหรือใกล้เคียงกับศูนย์มาก

แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการพยากรณ์เศรษฐกิจไทย www.forecast.nida.ac.th - ข้อมูลเกี่ยวกับตัวแบบเพื่อการพยากรณ์เศรษฐกิจมหภาค NIDA Macro Model Update ผลการพยากรณ์ล่าสุดโดย NIDA Macro Forecast รวบรวมผลการพยากรณ์จากหน่วยงานต่างๆ และ link รายงานสำหรับผู้สนใจ Update ข่าวสารทางเศรษฐกิจมหภาคที่สำคัญ ผลงานวิชาการเกี่ยวกับการวิเคราะห์การพยากรณ์เศรษฐกิจมหภาค จากคณาจารย์คณะ พัฒนาการเศรษฐกิจ นิด้า สร้างค่าพยากรณ์ด้วยตัวเองสำหรับผู้เข้าชมแต่ละคน (Forthcoming) Update ข้อมูลข่าวสาร Click like www.facebook/NIDAMacroForecast

www.forecast.nida.ac.th

www.forecast.nida.ac.th

www.forecast.nida.ac.th

www.forecast.nida.ac.th

www.facebook.com/NIDAMacroForecast