แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษารายกรณี.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
เอกสารประกอบการสอน อาจารย์ดร.ศุกรี อยู่สุข
การประมาณค่าทางสถิติ
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (ทาโร ยามาเน่) n=N/1+N(e)2
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
แบบแผนการวิจัย เชิงทดลอง
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การเขียนรายงานการวิจัย
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
มาตรฐานการให้รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย
Basic Experimental Design
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
Basic Statistical Tools
Basic Statistical Tools
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง ดร.รังสรรค์ โฉมยา

Completely Randomized Design CR-J Design Completely Randomized Design แบบแผนการทดลองที่มีการสุ่มอย่างสมบูรณ์ชนิดแฟคเตอร์เดียว เป็นแบบแผนที่ง่ายที่สุดของการทดลอง เหมาะกับหน่วยทดลอง (Experimental Unit) เอกพันธ์ กรณีที่หน่วยทดลองเป็นวิวิธพันธ์ (Heterogeneous) จะต้องไม่พบว่ามีตัวแปรรบกวนใดๆ เกิดขึ้นในระหว่างการทดลอง

มีความยืดหยุ่นสูง ใช้กับทรีทเมนต์กี่ตัวก็ได้ ข้อดี มีความยืดหยุ่นสูง ใช้กับทรีทเมนต์กี่ตัวก็ได้ ขนาดกลุ่มทดลองไม่จำเป็นต้องเท่ากัน การวิเคราะห์ข้อมูลง่าย แม้ว่าขนาดกลุ่มทดลองจะไม่เท่ากัน df ของ error term สูงกว่า แบบแผนที่มีการสุ่มจำกัด ไม่มีปัญหาในการวิเคราะห์ แม้ข้อมูลจะสูญหายในระหว่างการทดลอง มีข้อตกลงน้อยกว่าการทดลองแบบอื่นๆ

ลักษณะของแบบแผนการทดลอง มีตัวแปรทรีทเมนต์ (ตัวแปรจัดกระทำ) 1 ตัว ตัวแปรทรีทเมนต์แบ่งออกเป็น 2 ระดับหรือมากกว่า มีการสุ่มหน่วยทดลอง เข้ารับการทดลอง หรืออาจสุ่มระดับของตัวแปรทรีทเมนต์ให้กับหน่วยทดลองก็ได้ จำนวนของกลุ่มเปรียบเทียบจึงขึ้นอยู่กับระดับของตัวแปรทรีทเมนต์

Model การวิเคราะห์ Fixed Effects Model : ตัวแปรทรีทเมนต์ถูกเลือกอย่างเจาะจงโดยผู้วิจัย ผลที่ได้อ้างอิงกับทรีทเมนต์ที่นำมาทดลองเท่านั้น Random Effects Model : ตัวแปรทรีทเมนต์ที่นำมาทดลองถูกสุ่มมาจากประชากรของทรีทเมนต์ ผลที่ได้อ้างอิงไปยังตัวแปรทรีทเมนต์ทั้งหมด

ข้อตกลงเบื้องต้นของโมเดล ความเป็นอิสระของความคลาดเคลื่อนในกลุ่มทดลองเดียวกันและระหว่างกลุ่มทดลอง (ผู้วิจัยทำได้ด้วยการสุ่ม ทรีทเมนต์ให้กับหน่วยทดลอง การแจกแจงของความคลาดเคลื่อนเป็นแบบโค้งปกติ (กลุ่มแต่ละกลุ่มมีการแจกแจงความคลาดเคลื่อนปกติ) มีความเป็นเอกพันธ์ของความแปรปรวน (Homogenity of Variance) กลุ่มแต่ละกลุ่มมีความแปรปรวนเท่ากัน (ใช้การทดสอบ Hartley Test หรือ Bartlett Test)

แบบแผนการทดลองแบบสุ่มภายในบล๊อก RB-J Design Random Block Design แบบแผนการทดลองแบบสุ่มภายในบล๊อก มีตัวแปรทรีทเมนต์ 1 ตัว มี 2 ระดับหรือมากกว่า มีกลุ่มตัวอย่างออกเป็นกลุ่ม (Block) โดยมีลักษณะคือความแปรปรวนภายในกลุ่มจะน้อยกว่าระหว่างกลุ่ม มีจำนวนหน่วยทดลองเท่ากัน สุ่มระดับของตัวแปรทรีทเมนต์ให้กับหน่วยทดลองในแต่ละกลุ่ม

ถ้าการจัดกลุ่มทำได้ดี RB-J จะมี Power of Test สูงกว่า CR-J ข้อดี ถ้าการจัดกลุ่มทำได้ดี RB-J จะมี Power of Test สูงกว่า CR-J ใช้กับการทดลองที่มีจำนวนทรีทเมนต์ และ Replication หลากหลาย จำนวนคนในกลุ่มทดลองแต่ละกลุ่มไม่จำเป็นต้องเท่ากัน การวิเคราะห์ข้อมูลไม่ยุ่งยาก

ลักษณะการจัดกลุ่มให้เป็นเอกพันธ์ แบบแผนนี้มีลักษณะเด่นอยู่ที่การจัดหน่วยทดลองออกเป็นกลุ่ม (Block) ที่มีความเป็นเอกพันธ์ ตัวแปรที่นำมาใช้จัด Block อาจจะเป็น ลักษณะของหน่วยทดลอง เช่น อายุ เพศ ระดับการศึกษา ทัศนคติ เชาว์ปัญญา ฯลฯ หรือ ลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง เช่น ผู้สังเกต เอกสาร ฯลฯ อาจใช้ คู่แฝด สัตว์จากคอกเดียวกัน หรือใช้การจับคู่ หรืออาจจะใช้หน่วยทดลองซ้ำในทุกทรีทเมนต์

Random Effects Model : ตัวแปรทรีทเมนต์ถูกสุ่มมา Fixed Effects Model : ตัวแปรทรีทเมนต์ถูกเลือกอย่างเจาะจงโดยผู้วิจัย ผลที่ได้อ้างอิงกับทรีทเมนต์ที่นำมาทดลองเท่านั้น Random Effects Model : ตัวแปรทรีทเมนต์ถูกสุ่มมา Mixed Effects Model : สุ่ม Block แต่เจาะจงทรีทเมนต์ ซึ่งการทดลองในแบบแผนนี้มักจะโมเดลนี้ในการวิเคราะห์ แบ่งเป็น 2 โมเดลย่อย คือ โมเดลไม่มีปฏิสัมพันธ์ และมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างทรีทเมนต์กับบล๊อก (Tukey Test)

ข้อตกลงเบื้องต้นของโมเดล ทุกข้อที่กล่าวใน CR-J Design ต้องไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างระหว่างตัวแปรทรีทเมนต์กับตัวแปรจัดกลุ่ม (Block) df ของ error term เล็กกว่าของ CR-J Design การจัดกลุ่ม จัดหน่วยทดลองในกลุ่มตัวอย่างออกเป็นกลุ่ม (Block) ที่มีความเป็นเอกพันธ์ สุ่มทรีทเมนต์ให้กับหน่วยทดลองในแต่ละกลุ่ม

Generalized Randomized Block Design GRB-J Design Generalized Randomized Block Design แบบสุ่มบล็อกเพื่อการอ้างอิงทรีทเมนต์ ลักษณะเฉพาะคือ ทรีทเมนต์ 1 ตัว 2 ระดับหรือมากกว่า ตัวแปรจัดบล็อก 1 ตัว มีหลายระดับ สุ่มทรีทเมนต์ให้กับหน่วยทดลองในแต่ละกลุ่ม หน่วยทดลองแต่ละกลุ่มมีสมาชิกที่เป็นเอกพันธ์มากกว่า 2 ขึ้นไป

สามารถสรุปอ้างอิงทรีทเมนต์ไปยังประชากรของทรีทเมนต์ได้ ข้อดี เหมือนกับ RB-J Design สามารถสรุปอ้างอิงทรีทเมนต์ไปยังประชากรของทรีทเมนต์ได้ ลักษณะการจัดกลุ่ม จัดหน่วยทดลองเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำนวนหน่วยทดลองมากกว่า 2 ขึ้นไป สุ่มทรีทเมนต์ให้กับหน่วยทดลองในแต่ละกลุ่ม

ลักษณะของแบบแผนการทดลอง หน่วยการทดลองจะถือเป็นกลุ่มของหน่วยการทดลองเพราะมีจำนวนสมาชิกของหน่วยการทดลองมากกว่า 2 ขึ้นไป แต่ละกลุ่มของหน่วยการทดลองไม่จำเป็นจะต้องมีจำนวนสมาชิกเท่ากัน กลุ่มของหน่วยการทดลองจะต้องมีลักษณะความเป็นเอกพันธ์

Model การวิเคราะห์ ใช้รูปแบบการวิเดราะห์แบบ Mixed Effects Model : สุ่ม Block แต่เจาะจงทรีทเมนต์ ซึ่งการทดลองในแบบแผนนี้มักจะโมเดลนี้ในการวิเคราะห์ แบ่งเป็น 2 โมเดลย่อย คือ โมเดลไม่มีปฏิสัมพันธ์ และมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างทรีทเมนต์กับบล๊อก (Tukey Test)