โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำหรับผู้มีธุรกิจยุ่งอย่างคุณ การยืดตัวที่โต๊ะคอมฯตัวโปรด ใช้เวลาประมาณ 4 นาทีเท่านั้น
Advertisements

ตรวจเต้านม ด้วยตนเอง วิชาการกายภาพบำบัด
PEDIATRIC HEMATOLOGY/ONCOLOGY INTER-HOSPITAL CONFERENCE
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
ฝึกปฏิบัติการให้การบำบัดแบบสั้น
นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอสู่คุณโดย ภายใต้การนำอย่างมีนวัตกรรมของท่านประธาน Miguel Martin N. Moreno II, M.D.
นาวาโท สมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T.NURSE
โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)
Department of Orthopaedic Surgery
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
Approach to Arthritis Case Discussion and Interactive Session
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม Radiation therapy for breast cancer
Thailand Research Expo
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
Ovarian tumor, morbid obesity
ผศ.ณิชานันท์ ปัญญาเอก ชุติมณฑน์ พันศิริ ปริญญาพร มะธิปะโน BPI and BPD
Management of Pulmonary Tuberculosis
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ตาแดงแผลงฤทธิ์.
M.Sc. Exercise Physiology
การตรวจเท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
Principle of Prachinburi Triage Scale(PTS)
นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ ภายใต้การนำและนวตกรรมของท่านประธาน Miguel Martin N. Moreno II, M.D.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
Cancer.
เรื่อง การดูแลผู้ป่วย MI
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
การนวดไทยแบบราชสำนัก
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
กายภาพบำบัด ในด้านความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว ของข้อศอก
Rehabilitation in Spinal Cord Injury
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง Case presentation โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง

ประวัติทั่วไป ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ 45 ปี ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ 45 ปี วันที่รับปรึกษา1 กรกฎาคม 2551 วินิจฉัยโรค shoulder hand syndrome ข้อห้าม ข้อควรระวัง – ปัญหาที่ส่งปรึกษา pain management

Subjective examination Present illness : ประมาณปี 2544 มีอาการอ่อนแรงขณะเดินไปเข้าห้องน้ำ แพทย์dx. Rt. Hemiparesis และได้รับกายภาพบำบัดมาจนถึงปี 2546 เริ่มเดินได้เอง ส่วนเรื่องอาการที่ข้อไหล่มีอาการปวดตั้งแต่ปี 2545 ผู้ป่วยมีอาการปวดไหล่ขวา ร่วมกับอาการบวมแดงและยกไม่ขึ้น

Chief complaint : ผู้ป่วยมีอาการปวดข้อไหล่ขวา แขนอ่อนแรง มีอาการปวดมากขึ้นเมื่อยกแขนและมีข้อติดเนื่องจากเมื่อมีอาการปวดผู้ป่วยจะไม่ขยับแขน อาการปวดมากขึ้นเมื่ออากาศเย็นและปวดแสบปวดร้อนเมื่ออากาศร้อน แพทย์จึงวินิจฉัยว่าเป็น shoulder pain จึงส่งปรึกษานักกายภาพบำบัดเพื่อลดปวดและเพิ่มองศาการเคลื่อนไหว

Past history : กินเหล้า สูบบุหรี่ เมื่อประมาณ 15 ปีที่แล้ว ปฏิเสธโรคประจำตัว Medicine assessment : aspirin, neurontin, tramol, amitriptelin

Behavior of symptom Aggravating factor : pain in all direction of Rt. Shoulder joint Easing factor : prolong stretching Severity of symptoms : Rest = 8-9, Mvt.= 10 Irritability level : High 24 Hours pattern : กลางคืน > กลางวัน Functional limitation : limit in all direction of Rt. Shoulder

Objective examination Observation and Inspection: abnormal posture, abnormal gait Active test: sh. Flexion 90o abduction 90o Passive test: Can’t examination because limit by pain Neurological test: Muscle power: Can’t examination because limit by pain

Objective examination (cont.) Neurological test: sensation: impair Palpation: tenderness point at upper trapezius, rhomboid, deltoid m. at Rt.sh. Special test: - Adjacent joint: elbow: normal neck: limit ROM by pain

Pain and tenderness point Heat modalities Limit ROM TENS Goal of treatment: relieve pain and improve ROM of Rt. Shoulder and ADL Problem summary Treatment Pain and tenderness point Heat modalities Limit ROM TENS Burning sensation ROM exs.as torerance Poor ADL ADL, hand function training

Progression note 8/7/51 S:ผู้ป่วยยังคงมีอาการปวดมาก เวลาขยับเคลื่อนไหวไหล่ขวา O:tenderness point at upper trapezius, rhomboideus,deltoid m. A:ผู้ป่วยยังคงมีอาการปวดเท่าๆเดิม ยังคงจุดกดเจ็บและการเคลื่อนไหวของข้อไหล่และคอลำบาก P:HP,US,TENS,traction 4.5kg(intermitant)

Progression note 31/7/51 S:pain scale 9/10 หลังรักษาเหลือ 6/10 ขยับแขนขวาได้บ้าง วันนี้ปวดมากจนขยับคอไม่ได้ O:tenderness point at upper trapezius,rhomboideus,deltoid posterior part A:ผู้ป่วยมีอาการปวดที่ลดลง ขยับแขนได้บ้างแต่ต้องเป็นผู้ป่วยทำเอง ยังคงมีอาการเคลื่อนไหวคอลำบาก P:HP,US,gentle mobilization,TENS,C-traction 4.5kg

Shoulder hand syndrome คือกลุ่มหนึ่งของ reflex sympathetic dystrophy  ซึ่งเกิดจาก การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติที่ผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดบวมที่ไหล่และมือ  มีการจำกัดการ เคลื่อนไหวของข้อนิ้ว metacarpophalangeal และข้อมือ และจะปวดมากเมื่อมีการขยับของข้อนิ้ว

Shoulder hand syndrome : Criteria Pain and tenderness hyperalgesia mechanoallodynia signs of vasomotor instability (hyperhydrosis and decreased skin temperature) swelling of hand and shoulder sparing elbow after stroke

การรักษา การดูแลที่ดี คือการป้องกันไม่ให้เกิด โดยให้มีการเคลื่อนไหวของข้อนิ้วและข้อมือในช่วงที่ยังอ่อนแรง  และถ้าเกิดแล้ว ก็ต้องพยายามให้มีการเคลื่อนไหวของข้อให้มากที่สุดและอาจใช้ความร้อนมาช่วยลดอาการปวด   มิฉะนั้นจะทำให้การเคลื่อนไหวของมือไม่เต็มช่วงการเคลื่อนไหว

thank you for your attention