การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

กลุ่มที่ 2 1. ผู้เยาว์สิ้นสุดการเป็นผู้เยาว์เมื่อใด
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
LA 102: Business Law สัญญาซื้อขาย.
กฎหมายมรดก.
ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
วิชา มรดก โดย เมทินี ชโลธร.
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
อุทธรณ์.
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
วิชาว่าความและ การถามพยาน
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
การประชุมกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ทร. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๒
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
คำแนะนำในการตอบข้อสอบ
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน
หนังสือทางวิชาการ โดย อ.ว่าที่ร.ต.เศรษฐ์ อินสกุล
ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม
กฎหมายลักษณะบุคคล.
YOUR SUBTITLE GOES HERE
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
ขั้นตอนการดำเนินคดี การสืบสวน การวางแผนปฏิบัติการ การตรวจค้น/จับกุม
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
ข้อมูลการประชุมบริหาร ครั้งที่ ๘/๒๕๕๔ (ฝอ.๗ บก.อก.บช.ก.)
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ์
กฎหมายแพ่งว่าด้วยหนี้ (Law of Obligations)
บทที่ 1 บุคคล.
จารีตประเพณีและพหุนิยมทางกฎหมาย
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
จุดเด่น / จุดขาย ของร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช.....
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
การแสดงเจตนา ศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์.
การรับฟังพยานหลักฐาน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
กรณีศึกษา นายหล่อนะ บุคคลธรรมดาศึกษา โดย รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร วันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๕.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
การฟังเพลง.
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา เรื่อง เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย โดย
มาตรา ๑๔๔๙ การสมรสจะกระทำมิได้ถ้าชายหรือหญิง เป็นบุคคลวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็น คนไร้ความสามารถ.
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตให้ทำการ สมรสก่อนนั้นได้
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว กัมพูชาหลังวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปัญหาการพิจารณาและกำหนด สถานะทางกฎหมาย การจัดการต่อนิติสัมพันธ์ที่ เกิดขึ้นในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ ปัญหาประสิทธิภาพในการ บังคับใช้กฎหมาย ปัญหาการพิจารณาบ่อเกืด.
ทะเบียนราษฎร.
ทะเบียนบ้าน.
การให้เลขประจำตัวประชาชน ๑๓ หลัก
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สําหรับตน.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law) โดย อาจารย์สุภาวรรณ ศรีไตรรัตน์

๑. สถานะและความสามารถของบุคคล พ.ร.บ. กฎหมายขัดกัน พ.ศ. ๒๔๘๑ แบ่งออกเป็น ๖ หมวด คือ ๑. บททั่วไป ๑. สถานะและความสามารถของบุคคล ๒. หนี้ ๓. ทรัพย์ ๔. ครอบครัว ๕. มรดก

ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล มาตรา ๑๐ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล จุดเกาะเกี่ยว - สัญชาติ (ของบุคคลนั้น) ประเด็นการพิจารณา - ความสามารถ หมายถึงอะไร - ความสามารถในการ ใช้ สิทธิ เท่านั้น - ไม่รวมถึง การ มี สิทธิ ข้อสังเกต - ม. ๑๐ ไม่มีการระบุถึงสถานะที่สำคัญของบุคคล ๓ เรื่อง คือ ๑. การสิ้นสภาพบุคคลโดยความตายแบบธรรมชาติ ๒. ปัญหาสิทธิของทารกในครรภ์มารดา ๓. บทสันนิษฐานว่าตาย

ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล ข้อยกเว้นของการใช้สัญชาติเป็นจุดเกาะเกี่ยว มาตรา ๑๐ วรรคสาม “ในกรณีที่เป็นนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ความสามารถของบุคคลที่จะทำนิติกรรมเช่นว่านั้นย่อมเป็นไปตามกฎหมายแห่งถิ่นที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่” *** ตามกฎหมายขัดกันของไทยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอะไรที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เราจะถือเป็น หลักเด็ดขาดตายตัว ว่าต้องใช้หลักถิ่นที่ทรัพย์ตั้งอยู่

ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล ข้อยกเว้นของการใช้สัญชาติเป็นจุดเกาะเกี่ยวตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม ยังคงอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ของเรื่องการย้อนส่ง หมายถึง *** ในกรณีที่กฎหมายขัดกันของต่างประเทศ ไม่ได้ใช้หลักถิ่นที่ ทรัพย์นั้นตั้งอยู่ ประเทศไทยยังคงต้องยอมรับหลังการย้อนส่ง ตัวอย่างเช่น ๑. ประเทศเยอรมันและประเทศฝรั่งเศส ใช้หลักกฎหมาย สัญชาติทั้งหมดแม้จะเป็นอสังหาริมทรัพย์ ๒. ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ใช้หลักกฎหมายภูมิลำเนา

ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล มาตรา ๑๑ กรณีผู้ไม่อยู่และการถูกศาลสั่งเป็นคนสาบสูญ ข้อสังเกต ๑. มาตรา ๑๑ วรรคแรก ๑.๑ ใช้เฉพาะคนต่างด้าวที่มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยเท่านั้น ศาลไทยจะมีคำสั่งจัดการทรัพย์สินของผู้ไม่อยู่ในที่มิได้มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยไม่ได้ ๑.๒ คำว่า “สั่งการให้ทำพลางตามที่จำเป็น” หมายถึง “การตั้งผู้จัดการทรัพย์สิน” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล ข้อสังเกต ๒. มาตรา ๑๑ วรรคสอง ใช้หลัก “สัญชาติของคนต่างด้าว” เพราะเหตุว่า ม. ๑๑ วรรคสอง เป็นเรื่องของการสั่งให้บุคคลตาย ซึ่งมีผลต่อสภาพบุคคล ฉะนั้น การจะใช้กฎหมายไทย จึงไม่ถูกต้อง ควรใช้กฎหมายของคนต่างด้าวนั้น ซึ่งต่างกับ กรณีเป็นผู้ไม่อยู่ในมาตรา ๑๑ วรรคแรก

ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล มาตรา ๑๒ กรณีคนไร้ความสามารถและคนเสมือนไร้ความสามารถ ข้อสังเกต ตามมาตรา ๑๒ วรรคแรก ใช้จุดเกาะเกี่ยว ๒ จุด คือ ๑. กฎหมายสัญชาติของคนต่างด้าว ๒. กฎหมายไทย ฉะนั้น จากลักษณะดังกล่าวจึงเป็นลักษณะของจุดเกาะเกี่ยวที่เรียกว่า “จุดเกาะเกี่ยวผสม”

ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล มาตรา ๑๒ กรณีคนไร้ความสามารถและคนเสมือนไร้ความสามารถ ข้อสังเกต ตามมาตรา ๑๒ วรรคสอง ให้ใช้หลักกฎหมายของศาลที่สั่งฯ

ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล แบ่งออกเป็น ๒ กรณี คือ ๑. กรณีคู่สัญญาเลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา ๒. กรณีคู่สัญญามิได้เลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา

มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ๑. กรณีคู่สัญญาเลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา ข้อสังเกต ๑. มาตรา ๑๓ วรรคแรก ใช้หลัก “เสรีภาพในการแสดงเจตนาเลือกกฎหมาย ของคู่สัญญา” ๒. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้หลัก “เสรีภาพในการแสดงเจตนาเลือกกฎหมาย ของคู่สัญญา” คือ ๒.๑ ปัญหาเรื่องการย้อนส่ง ๒.๒ ปัญหาเรื่องการแยกส่วนของสัญญา ๒.๓ กฎหมายที่คู่สัญญาเลือกต้องเป็นกฎหมายของรัฐ ๒.๔ กฎหมายที่คู่สัญญาเลือกนั้นมีขอบเขตหรือไม่

มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ๒. กรณีคู่สัญญามิได้เลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา ข้อสังเกต ๑. หลักสันนิษฐานเจตนาของคู่สัญญา ๒. การใช้จุดเกาะเกี่ยวที่ไม่ยืดหยุ่น ๓. หลักความใกล้ชิดที่สุดของนิติสัมพันธ์ ๔. อนุสัญญาว่าด้วยหนี้ตามสัญญา

ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล แบ่งออกเป็น ๒ กรณี คือ ๑. กรณีคู่สัญญาเลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา ๒. กรณีคู่สัญญามิได้เลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา