การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law) โดย อาจารย์สุภาวรรณ ศรีไตรรัตน์
๑. สถานะและความสามารถของบุคคล พ.ร.บ. กฎหมายขัดกัน พ.ศ. ๒๔๘๑ แบ่งออกเป็น ๖ หมวด คือ ๑. บททั่วไป ๑. สถานะและความสามารถของบุคคล ๒. หนี้ ๓. ทรัพย์ ๔. ครอบครัว ๕. มรดก
ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล มาตรา ๑๐ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล จุดเกาะเกี่ยว - สัญชาติ (ของบุคคลนั้น) ประเด็นการพิจารณา - ความสามารถ หมายถึงอะไร - ความสามารถในการ ใช้ สิทธิ เท่านั้น - ไม่รวมถึง การ มี สิทธิ ข้อสังเกต - ม. ๑๐ ไม่มีการระบุถึงสถานะที่สำคัญของบุคคล ๓ เรื่อง คือ ๑. การสิ้นสภาพบุคคลโดยความตายแบบธรรมชาติ ๒. ปัญหาสิทธิของทารกในครรภ์มารดา ๓. บทสันนิษฐานว่าตาย
ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล ข้อยกเว้นของการใช้สัญชาติเป็นจุดเกาะเกี่ยว มาตรา ๑๐ วรรคสาม “ในกรณีที่เป็นนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ความสามารถของบุคคลที่จะทำนิติกรรมเช่นว่านั้นย่อมเป็นไปตามกฎหมายแห่งถิ่นที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่” *** ตามกฎหมายขัดกันของไทยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอะไรที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เราจะถือเป็น หลักเด็ดขาดตายตัว ว่าต้องใช้หลักถิ่นที่ทรัพย์ตั้งอยู่
ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล ข้อยกเว้นของการใช้สัญชาติเป็นจุดเกาะเกี่ยวตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม ยังคงอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ของเรื่องการย้อนส่ง หมายถึง *** ในกรณีที่กฎหมายขัดกันของต่างประเทศ ไม่ได้ใช้หลักถิ่นที่ ทรัพย์นั้นตั้งอยู่ ประเทศไทยยังคงต้องยอมรับหลังการย้อนส่ง ตัวอย่างเช่น ๑. ประเทศเยอรมันและประเทศฝรั่งเศส ใช้หลักกฎหมาย สัญชาติทั้งหมดแม้จะเป็นอสังหาริมทรัพย์ ๒. ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ใช้หลักกฎหมายภูมิลำเนา
ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล มาตรา ๑๑ กรณีผู้ไม่อยู่และการถูกศาลสั่งเป็นคนสาบสูญ ข้อสังเกต ๑. มาตรา ๑๑ วรรคแรก ๑.๑ ใช้เฉพาะคนต่างด้าวที่มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยเท่านั้น ศาลไทยจะมีคำสั่งจัดการทรัพย์สินของผู้ไม่อยู่ในที่มิได้มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยไม่ได้ ๑.๒ คำว่า “สั่งการให้ทำพลางตามที่จำเป็น” หมายถึง “การตั้งผู้จัดการทรัพย์สิน” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล ข้อสังเกต ๒. มาตรา ๑๑ วรรคสอง ใช้หลัก “สัญชาติของคนต่างด้าว” เพราะเหตุว่า ม. ๑๑ วรรคสอง เป็นเรื่องของการสั่งให้บุคคลตาย ซึ่งมีผลต่อสภาพบุคคล ฉะนั้น การจะใช้กฎหมายไทย จึงไม่ถูกต้อง ควรใช้กฎหมายของคนต่างด้าวนั้น ซึ่งต่างกับ กรณีเป็นผู้ไม่อยู่ในมาตรา ๑๑ วรรคแรก
ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล มาตรา ๑๒ กรณีคนไร้ความสามารถและคนเสมือนไร้ความสามารถ ข้อสังเกต ตามมาตรา ๑๒ วรรคแรก ใช้จุดเกาะเกี่ยว ๒ จุด คือ ๑. กฎหมายสัญชาติของคนต่างด้าว ๒. กฎหมายไทย ฉะนั้น จากลักษณะดังกล่าวจึงเป็นลักษณะของจุดเกาะเกี่ยวที่เรียกว่า “จุดเกาะเกี่ยวผสม”
ภาค ๒ สถานะและความสามารถของบุคคล มาตรา ๑๒ กรณีคนไร้ความสามารถและคนเสมือนไร้ความสามารถ ข้อสังเกต ตามมาตรา ๑๒ วรรคสอง ให้ใช้หลักกฎหมายของศาลที่สั่งฯ
ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล แบ่งออกเป็น ๒ กรณี คือ ๑. กรณีคู่สัญญาเลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา ๒. กรณีคู่สัญญามิได้เลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา
มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ๑. กรณีคู่สัญญาเลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา ข้อสังเกต ๑. มาตรา ๑๓ วรรคแรก ใช้หลัก “เสรีภาพในการแสดงเจตนาเลือกกฎหมาย ของคู่สัญญา” ๒. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้หลัก “เสรีภาพในการแสดงเจตนาเลือกกฎหมาย ของคู่สัญญา” คือ ๒.๑ ปัญหาเรื่องการย้อนส่ง ๒.๒ ปัญหาเรื่องการแยกส่วนของสัญญา ๒.๓ กฎหมายที่คู่สัญญาเลือกต้องเป็นกฎหมายของรัฐ ๒.๔ กฎหมายที่คู่สัญญาเลือกนั้นมีขอบเขตหรือไม่
มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ๒. กรณีคู่สัญญามิได้เลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา ข้อสังเกต ๑. หลักสันนิษฐานเจตนาของคู่สัญญา ๒. การใช้จุดเกาะเกี่ยวที่ไม่ยืดหยุ่น ๓. หลักความใกล้ชิดที่สุดของนิติสัมพันธ์ ๔. อนุสัญญาว่าด้วยหนี้ตามสัญญา
ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล ภาค ๓ หนี้ มาตรา ๑๓ เรื่องทั่วไปของสถานะและความสามารถของบุคคล แบ่งออกเป็น ๒ กรณี คือ ๑. กรณีคู่สัญญาเลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา ๒. กรณีคู่สัญญามิได้เลือกกฎหมายบังคับแก่สัญญา