Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
Electronic Lesson Conductometric Methods
8. ไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
การคำนวณหาขนาดของฟิวส์ ใช้สูตร
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
กระแสไฟฟ้า Electric Current
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
ลำโพง (Loud Speaker).
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2
หม้อแปลง.
การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Electronics for Analytical Instrument
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1

Introduction Electricity Electronic1 ไฟฟ้าเบื้องต้น Introduction Electricity

Electronic1 ชนิดของไฟฟ้า - ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ตัวอย่างเช่น ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า การเสียดถีของวัตถุ เป็นต้น - ไฟฟ้ากระแส (Current Electricity) เป็นไฟฟ้าที่สร้างขึ้นมาโดยมนุษย์ โดยผลิตแรงเคลื่อน แล้วส่งกระแส ไปตามสายลวดตัวนำ

Electronic1 ไฟฟ้ากระแส 1. ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current : AC) มีการเปลี่ยนทิศทางการไหลหรือขั้วทางไฟฟ้า สลับบวก-ลบ อยู่ตลอดเวลา 2. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current : DC) มีทิศทางการไหลหรือขั้วทางไฟฟ้าที่แน่นอน

Electronic1 สัญลักษณ์

Electronic1 ฟิวส์และเซอร์กิตเบรกเกอร์ เป็นอุปกรณ์ตัดต่อไฟฟ้า เพื่อความปลอดภัย ในกรณีที่วงจรไฟฟ้ามีความผิดปกติ เช่น กระแสเกิน วงจรชอร์ต ความแตกต่างของฟิวส์และเซอร์กิตเบรกเกอร์คือ ฟิวส์จะขาดไปเลยเมื่อกระแสเกิน แต่ถ้าเป็นเซอร์กิตเบรกเกอร์เพียงทำการรีเซตเพื่อกลับสู่สภาพปกติ

Electronic1 สัญลักษณ์

Electronic1 สวิทช์ เป็นอุปกรณ์ตัดต่อวงจร หรือเปิด-ปิดวงจรไฟฟ้า โดยจะมีหน้าสัมผัส (contact) เป็นตัวตัดวงจร แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบปกติเปิด : NO (Normal Opened) 2. แบบปกติปิด : NC (Normal Closed)

Electronic1 การต่อวงจรไฟฟ้า 1. การต่ออนุกรม (Series) 2. การต่อขนาน (Parallel) 3. การต่อผสม (Series-Parallel)

Electronic1 หน่วยต่างๆ ในวงจรไฟฟ้า 1. แรงเคลื่อนไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลท์ (Volt)ย่อด้วย V. 1000 ไมโครโวลท์ (µV) = 1 มิลลิโวลท์ (mV) 1000 มิลลิโวลท์ (mV) = 1 โวลท์ (V) 1000 โวลท์ (V) = 1 กิโลโวลท์ (kV) 2. กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (Ampare) เรียกย่อๆว่าแอมป์ ย่อด้วย A. 1000 ไมโครแอมป์ (µA) = 1 มิลลิแอมป์ (mA) 1000 มิลลิแอมป์ (mA) = 1 แอมป์ (A) 1000 แอมป์ (A) = 1 กิโลแอมป์ (kA) 3. กำลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวัตต์ (Watt) ย่อด้วย W 1000 ไมโครวัตต์ (µW) = 1 มิลลิวัตต์ (mW) 1000 มิลลิวัตต์ (mA) = 1 วัตต์ (A) 1000 วัตต์ (A) = 1 กิโลวัตต์ (kA)

Electronic1 ตัวต้านทาน Resistors

Electronic1 ตัวต้านทาน หรือ รีซิสเตอร์ (resistor) ตัวต้านทาน รีซิสเตอร์ หรือตัว อาร์ (R) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ต้านการไหลของกระแส ไฟฟ้า เนื่องจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่จะใช้งานได้ที่กระแสไฟฟ้าระดับหนึ่งเท่านั้น ดังนั้นเราจึงใช้ตัวต้านทาน กันไม่ให้มีกระแสไหลเข้าไปยังอุปกรณ์ดังกล่าวเกินความจำเป็น หน่วยค่าความต้านทานไฟฟ้าตามระบบเอสไอคือ โอห์ม อุปกรณ์ที่มีความต้านทาน ค่า 1 โอห์ม หากมีความต่างศักย์ 1 โวลท์ไหลผ่าน จะให้กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ ซึ่งเท่ากับการไหลของประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ ขนาดของตัวต้านทานจะเรียก เป็นกำลังวัตต์(W) และมีขนาดตั้งแต่ 1/8W 1/4W(เรานิยมใช้กัน) 1/2W 1W 2W 3W 5W ขึ้นไปเรื่อยๆ โดยการเลือก ใช้ตัวต้านทานนั้นต้องเลือกค่า เลือกขนาดกำลัง และชนิดของตัวต้านทานให้ถูกต้อง เพราะหากเลือกผิดจะเป็นผลเสียต่อวงจร

Electronic1 ชนิดของตัวต้านทาน 1. ตัวต้านทานแบบมีค่าคงที่ (Fixed Resistor) 2. ตัวต้านทานปรับค่าได้ (Adjustable Resistor) 3. ตัวต้านทานเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor)

Electronic1 ตัวต้านทานแบบมีค่าคงที่ - ตัวต้านทานแบบคาร์บอน - ตัวต้านทานแบบขดลวดหรือเซรามิค - ตัวต้านทานแบบฟิล์ม

Electronic1 ตัวต้านทานปรับค่าได้ - โพเทนติโอมิเตอร์ (potentiometers) - รีโอสแตต (rheostats)

Electronic1 ตัวต้านทานเปลี่ยนค่าได้ - เทอร์มิสเตอร์ (thermistor) เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามระดับอุณหภูมิ - แอลดีอาร์ (LDR : Light Dependent Resistor) ตัวต้านทานปรับค่าตามแสงตกกระทบ ยิ่งมีแสงตกกระทบมากยิ่งมีความต้านทานต่ำ

Electronic1 การอ่านค่าตัวต้านทาน

การต่อวงจรตัวต้านทาน Electronic1 การต่อวงจรตัวต้านทาน - ตัวต้านทานในวงจรอนุกรม RT = R1+ R2+…+Rn PT = P1 = P2 = Pn

การต่อวงจรตัวต้านทาน Electronic1 การต่อวงจรตัวต้านทาน - ตัวต้านทานในวงจรขนาน 1/RT = 1/R1+ 1/R2+…+1/Rn PT = P1 + P2 +…+ Pn

Electronic1 วงจรตัวต้านทานแบบผสม

Electronic1 กฎของโอห์ม กฎของโอห์มกล่าวไว้ว่า “ในวงจรไฟฟ้าใดๆ ค่าของกระแสจะแปรผันโดยตรงกับแรงดัน และแปรผกผันกับค่าของความต้านทานในวงจร” กระแสไฟฟ้า 1 แอมป์ เป็นผลการเปรียบเทียบอัตราส่วนระหว่างแรงเคลื่อน ไฟฟ้า 1 โวลท์ กับความต้านทาน 1 โอห์ม หรือเขียนเป็นสูตรได้ว่า

Electronic1 อัตราทนกำลัง หรือ ตัวต้านทานจะต้องมีอัตรากำลังซึ่งคิดออกมาเป็น “วัตต์” (WATT) ซึ่งค่าอัตรากำลัง หาได้จากสูตร หรือ