Register
Serial In - Serial Out Shift Registers เข้าอนุกรม ออกอนุกรม จะเลื่อนข้อมูลตามสัญญาณ clock
ปัญหาข้อมูลโดนทำลาย เกิดจากการเลื่อนข้อมูล ตัวรับอาจจะรับข้อมูลไม่ทัน เมื่อเราเคลียร์ข้อมูลด้วย 0000
การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา สามารถเลือก Read, Write ได้ 0->ป้อนกลับ, 1->รับอินพุท
Serial In - Parallel Out Shift Registers เข้าอนุกรม ออกขนาน
Parallel In - Serial Out Shift Registers เข้าขนาน ออกอนุกรม
Parallel In - Parallel Out Shift Registers เข้าขนาน ออกขนาน
Bidirectional Shift Registers สองทาง
Shift Register Counters ตัวนับ Ring Counter RESTART
Shift Register Counters ตัวนับ Johnson Counter
ROM & RAM
ROM Read Only Memory หน่วยตวามจำที่อ่านได้เพียงอย่างเดียว เขียนทับไม่ได้ ถูกกำหนดข้อมูลมาจากผู้ผลิตแล้ว ROM ที่เขียนทับได้ EPROM สามารถลบข้อมูลได้ด้วยรังสี UV EEPROM สามารถลบข้อมูลได้ด้วยไฟฟ้า Flash สามารถลบข้อมูลได้ด้วยไฟฟ้า เขียนได้หลายครั้ง
ROM ใน PC (8088) ROM Address bus Data bus A0-A10 O0-O10 CE OE CE = chip enable OE = output enable = Trigger ที่ขอบขาลง Control bus
ROM ใน PC (8088) Memory Interface 8088/8086 A0-A10 ROM Chip A0-A10 CS Address bus A0-A10 CS MEMR CE OE Control bus O0-O10 Data bus D0-D10
IC EPROM EPROM Density Capacity 2716 16K 2K 8 2732 32K 4K 8 27C64
Time Diagram ของ EPROM กับ CPU Address CE OE Output High-Z
RAM ใน 8088 สมมติว่า มี 4 Bank Bank ละ 8K , 1 แอดเดรส = 8 บิท (8K 8) . เราสามารถใช้เทคนิคให้เข้าถึง RAM ได้ถึง 16K จำนวน 2 Bank รวมเป็น 32K 8 K โดยใช้ 14 บิท (A0 - A13 ) และเพิ่ม 1 – 2 Decoder มา 1 ตัว
CPU & SRAM ใน 8088 A0 A1 .. A12 SRAM D0 4 Bank D1 Bank ละ 8K 8 .. Low Byte Bank 0 13 A0-A10 WE CE OE 16 13 A0-A12 WE OE CE High Byte Bank 0 SRAM 4 Bank Bank ละ 8K 8 D0 D1 .. D15 13 A0-A12 Low Byte Bank 1 WE 0 -> CS0 = 0, CS1 = 1 1 -> CS1 = 0 , CS0 = 1 CE 13 OE 16 MEMW CS0 A0-A12 A13 Address Decoder CS0 CS1 WE CS1 High Byte Bank 1 CE MEMR OE
สมมติว่าจะ READ ข้อมูลที่ Bank 0 A0 - A12 A13 MEMR D0 - D12
สมมติว่าจะ READ ข้อมูลที่ Bank 1 A0 - A12 A13 MEMR D0 - D12
สมมติว่าจะ WRITE ข้อมูลที่ Bank 0 A0 - A12 A13 MEMW D0 - D12