01132491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ Basic Research Methods in Business เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ
วัน-เวลา : ผู้สอน : หมู่ 800 วันอังคาร เวลา 9.00 - 12.00 น. ห้อง 10203 หมู่ 800 วันอังคาร เวลา 9.00 - 12.00 น. ห้อง 10203 หมู่ 850 วันอังคาร เวลา 16.30 - 19.30 น. ห้อง 10209 ผู้สอน : อาจารย์เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ โทร. 08-7908-5500 E-mail : fmstss@src.ku.ac.th
วัตถุประสงค์ของวิชา : 1. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจถึงหลักการ แนวทางการวิจัย บทบาทและความสำคัญของการวิจัยทางธุรกิจที่มีต่อ การจัดการและการตัดสินใจทางธุรกิจ 2. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับหลักการ ระเบียบวิธีวิจัย ขั้นตอนและกระบวนการในการดำเนินงานวิจัยตั้งแต่การกำหนดประเด็นปัญหาจนถึงการเขียนรายงานการวิจัยและเสนอผลงานวิจัยทางธุรกิจ 3. เพื่อให้นิสิตมีทักษะความชำนาญ ความสามารถเชิงการวิเคราะห์และการปฏิบัติทางการวิจัยทุกขั้นตอนตามหลักวิชาการ พร้อมทั้งการประยุกต์ใช้งานวิจัยสำหรับการจัดการและตัดสินใจทางธุรกิจ
คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : หลักและระเบียบวิธีการวิจัยทางธุรกิจ การกำหนด ปัญหา การวางรูปแบบวิจัย การตั้งวัตถุประสงค์ และ สมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างแบบสอบถาม การวิเคราะห์และตีความข้อมูล การใช้สถิติสำหรับการวิจัย การเขียนรายงานและการเสนอผลการวิจัย Principles and methods in business research, identification of research problems, formulation of research objectives and hypotheses, collection of data, construction of questionnaire, data analysis and interpretation, application of statistics for research, report writing and presentation.
วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : - การบรรยาย ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การฝึก ปฏิบัติการ - การค้นคว้าผลงานวิจัย การรวบรวมผล การวิเคราะห์ วิจารณ์ การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม - การจัดทำโครงการวิจัย เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การ สรุปผลและนำเสนอ โดยที่มีงานค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติมความรู้ และการฝึก ปฏิบัติการตามการมอบหมายให้ค้นคว้าจัดทำการวิจัยและ รายงานผลการวิจัยด้วยตนเอง
1. เอกสารประกอบการสอน อุปกรณ์สื่อการสอน : 2. ตำราและหนังสือ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ตำราและหนังสือ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉาย LCD และเครื่องฉาย วัตถุ 3 มิติ 4. เครื่องคอมพิวเตอร์ฝึกปฏิบัติการ โปรแกรมสำเร็จรูป ทางสถิติและเครื่องพิมพ์ 5. แบบฝึกหัด คู่มือการลงรหัส กระดาษลงรหัสและสื่อ บันทึกข้อมูล
3. การทดสอบ ร้อยละ 10 การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการเรียน โดยการเข้าร่วมรับฟัง คำบรรยายอย่างสม่ำเสมอ และอภิปรายแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ร้อยละ 10 2. การทำรายงานและฝึกปฏิบัติการ ร้อยละ 40 3. การทดสอบ ร้อยละ 10 4. การสอบกลางภาค ร้อยละ 20 5. การสอบปลายภาค ร้อยละ 20
การประเมินผลการเรียน : ระดับคะแนนพิจารณาจากเกณฑ์คะแนน สูงกว่า 80.0 คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 75.1 - 80.0 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 70.1 - 75.0 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 65.1 - 70.0 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 60.1 - 65.0 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 55.1 - 60.0 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 50.1 - 55.0 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า 50.1 คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0
ข้อกำหนดในการเรียน : 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 2. นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้า ชั้นเรียน 3. นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนในขณะสอนอันจะมีผลทำ ให้การเรียนการสอนขาดคุณภาพ 4. นิสิตต้องเข้าร่วมการฝึกปฏิบัติการและการจัดทำ รายงานการวิจัยกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ การวิจัยทำให้เกิดความรู้และความชำนาญที่ต้องการ สำหรับการตัดสินใจที่รวดเร็วภายใต้สภาวะแวดล้อมที่ถูก กำหนด : 1. ปัจจัยในการพิจารณาสภาพแวดล้อมและตัดสินใจ ดำเนินงานทางธุรกิจขององค์กรต่างๆ มีปริมาณมากขึ้น 2. การแข่งขันของธุรกิจมีมาก และรุนแรงขึ้นทั้งระดับ ภายในประเทศและระดับโลก องค์กรจำเป็นต้องปรับตัว 3. องค์ความรู้ต่างๆ ทางธุรกิจเจริญก้าวหน้ามากขึ้น : ระดับคุณภาพทฤษฎีและแบบจำลอง
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ 4. สารสนเทศต่างๆ มีอยู่มากมายบนเครือข่ายโลก (World Wide Web, WWW) 5. องค์กรต่างๆ ทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) ใช้ ในการ วิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมากเพื่อหากฎเกณฑ์ การ เรียนรู้และหาความรู้ที่มีอยู่ในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ในองค์กร (Internal Databases) 6. ความก้าวหน้าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยให้ภาค ธุรกิจสร้างคลังข้อมูล (Data Warehousing)
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ 7. บุคลากร พนักงาน/เจ้าหน้าที่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้าและ สาธารณชนทั่วไปสามารถแสวงหาสารสนเทศได้ อย่าง สะดวกและรวดเร็ว 8. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณช่วยการคำนวณ ได้รวดเร็วขึ้นในการแก้ไขปัญหาองค์กร 9. จำนวนและขีดความสามารถเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ใน การ วิจัยเพิ่มขึ้น เช่น โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ เครื่อง คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศและการพัฒนาเทคนิค
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ 10. พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามสถานการณ์และความต้องการ 11. ความต้องการลดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมที่มี ความซับซ้อนขึ้นและทรัพยากรมีจำกัด แต่ความต้องการ บริโภคหรือใช้บริการมากขึ้น
ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร 1. การแก้ไขปัญหาทางการจัดการที่เกิดขึ้น โดย นักบริหารการเงิน-บัญชี จะเสนอข้อมูลหรือต้องตัดสินใจเกี่ยวกับ: - การตัดสินใจลงทุน (Investment Decision) - การตัดสินใจแสวงหาเงินทุน (Financial Decision) - การตัดสินใจการจ่ายเงินปันผล (Dividend
ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร 2. การวางแผนเพื่อกำหนดแนวทางที่เหมาะสมในการ บรรลุตามเป้าหมายองค์กร 3. การให้สารสนเทศประกอบการตัดสินใจขององค์กร 4. การควบคุม และตรวจสอบระบบการเงิน-บัญชีให้มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างถูกต้อง 5. สร้างความต้องการเสนอให้กับลูกค้า ผู้บริโภคหรือ ผู้ใช้บริการแทนที่จะให้ลูกค้าเรียกร้องก่อน
การแก้ปัญหา/งาน พัฒนาของผู้บริหาร ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือ แผนงาน ที่กำลังพัฒนา การแก้ปัญหา/งาน พัฒนาของผู้บริหาร ข้อมูลที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ทางเลือก ที่เกิดขึ้น - Primary Data - Secondary Data ทางเลือก ที่เลือก
ประโยชน์การวางแผนทางธุรกิจ 1. รับรู้แนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ กำหนดไว้ 2. ง่ายต่อการควบคุมและประเมินผล 3. สามารถกำหนดกิจกรรมทางธุรกิจช่วงเวลาต่างๆ อย่าง เหมาะสม 4. สามารถคาดการณ์หรือพยากรณ์ปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ล่วงหน้าในอนาคต 5. ดำเนินการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงและพัฒนาให้เกิด ประสิทธิภาพ
คุณค่าของการมีทักษะการวิจัย เพื่อเป็นการรวบรวมสารสนเทศต่างๆ ก่อนลงมือในการ ปฏิบัติงาน ซึ่งสามารถป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อสามารถใช้ในการศึกษาวิจัยระดับสูงที่มีความลึกซึ้ง ต่อไป เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจในการออกแบบวิจัย ขั้นตอน และกระบวนการวิจัย เพื่อสามารถประเมินและแก้ปัญหาทางการบริหารใน องค์กรอย่างถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อสร้างอาชีพเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการวิจัย
ศาสตร์กับการวิจัย
เหตุผลการแสวงหาความรู้ Rational of Acquiring Knowledge มนุษย์ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ ความรู้และความจริงที่เกิดขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงได้ มนุษย์มักมีปัญหาตลอดเวลา เพราะมีประสบการณ์ใหม่ๆ ไม่ตอบสนองความต้องการ ไม่สามารถอธิบายหรือบอกสิ่งที่ต้องการรู้ การสังเกตุสภาพแวดล้อมหรือเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัว มนุษย์มีความอยากรู้ อยากเห็นและต้องการใหม่เสมอ
ระดับความรู้ (Level of Knowledge) วิเคราะห์ / สังเคราะห์ / วิจัย Wisdom ปัญญา ประมวลทฤษฎี & ประสบการณ์ กฎ/ทฤษฎี Law/Theory สรุป / สังเคราะห์ / วิจัย ความรู้ Knowledge วิเคราะห์ / สังเคราะห์ / วิจัย ข่าวสาร Information จัดระบบ / ประมวล ข้อมูล Raw Data ข้อมูลดิบ
ลักษณะของศาสตร์ (Science) ศาสตร์ :“ วิธีการวิเคราะห์ที่เป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผลและเป็นวัตถุวิสัย ” จุดประสงค์ศาสตร์ - บรรยาย (Descriptive) - อธิบาย (Explanatory) - ทำนาย (Predictive) ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น/สังเกต วิธีการวิเคราะห์ - เป็นระบบ (Systematic) - เป็นเหตุเป็นผล (Logical) - เป็นวัตถุวิสัย (Objective) เพื่อ ระบบวิชาความรู้/องค์ความรู้ เนื้อหาวิชา (Content) วิธีการ (Method)
การวิเคราะห์ของศาสตร์ ลักษณะเป็นระบบ (Systematic) ส่วนย่อยหลายส่วนมีการเชื่อมกันอย่างดี แต่ละส่วนย่อย มีผลต่อกันและกัน ลักษณะเป็นเหตุเป็นผล (Logical) การใช้หลักของความเป็นเหตุผลหรือมรรควิธีในการ พิจารณา ลักษณะเป็นวัตถุวิสัย (Objective) หลักเกณฑ์ทั้งหมดต้องสามารถทดสอบโดยผู้ที่มีความ สามารถอื่นๆได้ หรือหลายวิธีการซ้ำๆ ทุกขั้นตอนได้
จุดมุ่งหมายของศาสตร์ การบรรยาย (Description) ความพยายามจะตอบคำถามว่า ใครทำอะไร ที่ไหน เมื่อไรและอย่างไร การอธิบาย (Explanation) ความพยายามจะตอบคำถามว่าทำไม การทำนาย (Predictive) ความพยายามจะตอบคำถามในอนาคตข้างหน้า
ศาสตร์ที่ว่าด้วยสาระเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตและ สาขาของศาสตร์ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Sciences) ศาสตร์ที่ว่าด้วยสาระเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตและ สิ่งไม่มีชีวิต * วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Sciences) เช่น เคมี ฟิสิกส์ ธรณีวิทยา วิศวกรรม ปฐพีวิทยา * วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Sciences) เช่น การเกษตร ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตววิทยา ชีววิทยา
ศาสตร์ที่ว่าด้วยเกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ สาขาของศาสตร์ สังคมศาสตร์ (Social Sciences) ศาสตร์ที่ว่าด้วยเกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ หรือปรากฏการณ์ทางสังคม ซึ่งจะมีการเกิดขึ้นและการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา Encyclopaedia of Social Sciences แบ่งเป็น * สังคมศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Social Sciences) * กึ่งสังคมศาสตร์ (Semi Social Sciences) * ศาสตร์เกี่ยวกับสังคมศาสตร์ (Sciences with Social Implication)
วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge การไต่ถามผู้รู้ (Authority) - ผู้เชี่ยวชาญ (Scholar) - ผู้ชำนาญการ (Expert) การใช้ประสบการณ์ (Experience) อาศัยประสบการณ์ที่ผ่านมาและรวบรวมมาใช้ใน การแก้ปัญหาหรือการลองผิด/ลองถูก (Trial and Error) สรุปเป็นข้อเท็จจริงขึ้นมาใหม่
วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge การอนุมาน (Deductive Method/ Syllogism/ Deductive Logic/ Inside-out Method) Aristotle นำวิธีการมาค้นหาความรู้/ข้อเท็จจริง โดยใช้ เหตุผล ด้วยการอ้างข้อเท็จจริงที่พบแล้วมาสรุปเป็นข้อเท็จ จริงใหม่ /ความรู้ใหม่ ข้อบกพร่อง : - ข้อสรุป/ข้อเท็จจริงที่ได้อาจไม่เป็นความจริง/สรุปได้ไม่ ชัดเจน - ข้อสรุปหรือข้อเท็จจริงที่ได้ไม่ใช่ความรู้ใหม่
วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge การอุปมาน (Inductive Method) Francis Bacon เสนอให้มีการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ /ข้อเท็จจริงใหม่ในลักษณะเก็บรวบรวมข้อมูล/ข้อเท็จจริง ย่อยๆ จำแนกประเภทตามลักษณะ หาความสัมพันธ์ แปล ความหมายและสรุป : - การอุปมานแบบสมบูรณ์ (Perfect Inductive Method) เก็บรวมรวมข้อเท็จจริงย่อยครบทุกหน่วยประชากร - การอุปมานแบบไม่สมบูรณ์ (Imperfect Inductive Method)เก็บรวมรวมข้อเท็จจริงย่อยจากตัวอย่างบางส่วน ประชากร
วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) Charles Darwin เป็นผู้นำค้นคว้าวิธีการมาใช้ศึกษาหา ข้อเท็จจริงและความรู้ใหม่ โดยอาศัยใช้วิธีการ : - Deductive Method - Inductive Method
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) การตรวจสอบและนิยามปัญหา Identification and Definition of the Problem การตั้งสมมติฐาน Formulation of Hypothesis การรวบรวมข้อมูล จัดระเบียบและการวิเคราะห์ข้อมูล Collection Organization and Analysis of Data การสรุป Formulation of Conclusion การยืนยัน ปฏิเสธ หรือปรับสมมติฐาน Verification Rejection or Modification of Hypothesis
รูปแบบการสร้างทฤษฎีแห่งวิทยาศาสตร์ Deductive Theory Building Functional Theory Building ทฤษฎี (Theories) INDUCTIVE LOGIC EMPIRICAL BASED DEDUCTIVE LOGIC THEORY BASED การสรุปจากข้อเท็จจริง (Empirical generalization) สมมติฐาน (Hypothesis) Inductive Theory building Model based Theory Building การสังเกต/ เก็บมูล (Observation)
ขั้นตอนในกระบวนการทำวิจัย (Steps of Research Process) เลือกหัวข้อ (choose topic) ตั้งคำถามในการวิจัย (focus research question) บอกกล่าวคนอื่นๆ (inform others) ออกแบบการวิจัย (design study) ตีความข้อมูล (interpret data) วิเคราะห์ข้อมูล (analyze data) เก็บรวบรวมข้อมูล (collect data)
วงล้อการวิจัย (The Research Wheel) การกลั่นกรองและคำถามใหม่ (Refinement and new question) ความคิด (idea) เอกสาร (Literature) การเผยแพร่ (Dissemination) ทฤษฎี (theory) การอนุมาน (Deduction) ผลและข้อค้นพบ (Results and findings) สมมติฐาน (Hypothesis) นิยามและการวัด (Operational definition and measurement) การวิเคราะห์ (Analysis) การจัดการข้อมูล (Data organization) แบบแผนการวิจัย (Research design) การเก็บข้อมูล (Data collection)
ลำดับขั้นตอนการวิจัย (The Research Sequence) ระบุสาขาหัวข้อกว้างๆ (identify boardarea) เลือกหัวเรื่องที่จะทำ (select topic) ตัดสินใจเลือกวิธีการที่จะใช้ (decide approach) กำหนดแผนการวิจัย (formulate plan) เก็บรวบรวมข้อมูล (collect information) วิเคราะห์ข้อมูล (analyze data) เสนอผลการวิจัยที่ค้นพบ (present findings)
ขั้นตอนที่สำคัญของการวิจัย 1. การตั้งคำถามหรือปัญหาของการวิจัย 2. การทบทวนวรรณกรรม 3. การกำหนดแบบของการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การจัดกระทำกับข้อมูล 6. การวิเคราะห์ข้อมูล และ 7. รายงานผลการวิเคราะห์