การรำ โนรา ชาตรี โรงเรียนอนุบาลวังม่วงอ.วังม่วง จ.สระบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 2
เด็กหญิง ณัฐวดี จันทร์ที ผู้จัดทำ เด็กหญิง ณัฐวดี จันทร์ที เด็กชาย อภิรักษ์ จินดา ครูที่ปรึกษา นางสาว นริศรา ภู่ดนตรี
ประวัติความเป็นมา โนรา หรือ มโนห์รา (เขียนเป็น มโนรา หรือ มโนราห์ ก็ได้) เป็นการละเล่นพื้นเมืองที่สืบ ทอดกันมานานและนิยมกันอย่างแพร่หลายใน ภาคใต้ เป็นการละเล่นที่มีทั้งการร้อง การรำ บางส่วนเล่นเป็นเรื่อง และบางโอกาสมีบางส่วน แสดงตามคติความเชื่อที่เป็นพิธีกรรม โนรา เป็นศิลปะพื้นเมืองภาคใต้เรียกว่า โนรา แต่ คำว่า มโนราห์ หรือ มโนห์รา นั้น เป็นคำที่เกิด ขึ้นมาเมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยการนำเอา เรื่อง พระสุธน-มโนราห์ มาแสดงเป็นละครชาตรี จึงมีคำเรียกว่า มโนราห์ ส่วนกำเนิดของโนรานั้น
เครื่องแต่งกายของโนรา ประกอบด้วยสิ่งสำคัญต่อ ไปนี้ เครื่องแต่งกายโนรา เครื่องแต่งกายของโนรา ประกอบด้วยสิ่งสำคัญต่อ ไปนี้ ๑. เทริด(อ่านว่าเซิด) เป็นเครื่องประดับศรีษะของตัวนายโรงหรือโนราใหญ่หรือตัวยืนเครื่อง ( โบราณไม่นิยม ให้นางรำใช้) ทำเป็นรูปมงกุฎเตี้ย มีกรอบหน้า มีด้ายมงคลประกอบ
เครื่องลูกปัด เครื่องลูกปัดจะร้อยด้วยลูกปัดสีเป็นลายมีดอกดวง ใช้สำหรับสวมลำตัวท่อนบนแทนเสื้อ ประกอบด้วยชิ้นสำคัญ 5 ชิ้นคือ 1. บ่า สำหรับสวมทับบนบ่าซ้าย-ขวา รวม 2 ชิ้น
2 .ปิ้งคอ 3.พานอก สำหรับสวมห้อยคอหน้า – หลัง คล้ายกรองคอ ร้อยลูกปัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้พันรอบตัวตรงระดับอก บางถิ่นเรียกว่า ”พานโครง” บางถิ่นเรียก ”รอบอก”
ท่าแม่ลาย หรือท่าแม่ลายกนก ท่าผาลา
ท่าลงฉาก ท่าบัวแย้ม
โอกาสที่แสดง การจัดให้มีโนราแสดงเพื่อความบันเทิง นั้น มักมีในงานวัดเพื่อหารายได้บำรุง ศาสนา งานประเพณีสำคัญตามนักขัตฤกษ์ งานพิธีเฉลิมฉลอง ต่าง ๆ ที่ชาวบ้าน วัด รัฐ หรือ หน่วยราชการ จัดขึ้นในโอกาสพิเศษ น้อยครั้งที่แสดงในงาน ของเอกชน แต่เอกชนนั้นจะเป็นคน มีฐานะดี หรือมีบารมีและบริวารมาก หรือเป็น การจัดแสดงเพื่อแก้บน และแสดงในพิธี " ลงครู " ของครอบครัวที่มีเทือกเถาเหล่ากอเป็นโนราโดยตรง