โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
มาตรฐานของ VLAN.
ข้อดีข้อเสียของ VLAN.
Switch Security ในการสำรวจ “การก่ออาชญากรรม และ ละเมิดความปลอดภัยในคอมพิวเตอร์” ที่ดำเนินโดยสถาบัน Computer Security Institute ร่วมกับ FBI เมื่อปี 2545.
รูปที่ 1 เครือข่ายย่อยที่แบ่งแยกกันด้วยเราเตอร์
Chapter 2 Switching.
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ซอฟต์แวร์.
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบอินเทอร์เนตในโรงเรียนที่ผู้ใช้ไม่เกิน 1000 คน
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
ARP (Address Resolution Protocol)
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
ATM (Asynchronous Transfer Mode)
COMPUTER NETWORK ชายชาญ กุศลจิตกรณ์.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
CH 9 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Virtual Trunking Protocol. 8-2 Router Console Switch#dir flash: Directory of flash:/ 1 -rw c2950-i6q4l2-mz EA4.bin 2 -rw- 736 vlan.dat.
05/04/60 Networking Devices 4 Copyrights by Ranet Co.,Ltd., All rights reserved.
Chapter 4 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Virtual Trunking Protocol 8 05/04/60
05/04/60 VLAN and Trunking 6 Copyrights by Ranet Co.,Ltd., All rights reserved.
วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.
พนธกร หาดี (ptk.toomyai.ac.th) 1 ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5.
IP ADDRESS.
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
ISP ในประเทศไทย
NETWORK.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
ชื่อ นางสาวชื่นฤดี ไชยวงค์ โปรแกรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3 รหัส
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V.15-12-2011 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networks) บทที่ 7 VLAN (Virtual LAN) หนังสืออ้างอิง เอกสิทธิ์ วิริยจารี. เรียนรู้ระบบเน็ตเวิร์กจากอุปกรณ์ของ Cisco ภาคปฏิบัติ. --กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2548. โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V.15-12-2011

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เรียนความหมายและหน้าที่ของ VLAN เรียนรู้เทคนิควิธี VLAN Implementation คำสั่งที่เกี่ยวข้องสำหรับสร้าง แก้ไข ลบ VLAN

ความหมายของ VLAN (Virtual LAN) เป็นความสามารถของ Switch Device เพื่อการ Implement ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ หากนิยามสั้นๆ สามารถอธิบายได้ว่า VLAN เป็นความสามารถในการกำหนดขอบเขตของ Broadcast Domain ขึ้นมาใหม่ในระบบเครือข่ายที่ใช้ Switch Device L.2 Broadcast Domain คือ ขอบเขตของการรับส่ง Broadcast Frame เป็นเฟรมที่มี Broadcast Address ปลายทางเป็น Broadcast Address มีจุดประสงค์เพื่อให้ทุกๆ เครื่องได้รับเฟรมนั้นไปประมวลผล

ความหมายของ VLAN (Virtual LAN) ต่อ หากเครื่อง A และ B อยู่ใน Broadcast Domain เดียวกัน เครื่อง B จะได้รับ Broadcast Frame จากเครื่อง A และในทางกลับกัน โดย Default เมื่อ Switch ได้รับ Broadcast Frame มาจาก Port ใด Port หนึ่งที่อุปกรณ์ อุปกรณ์จะกระจาย Broadcast Frame ออกไปทุกๆ Port เมื่อมีการกำหนด VLAN ขึ้นมาแล้ว Broadcast Frame จะถูกส่งออกไปเฉพาะ Port ที่เป็น Member เท่านั้น ไม่ข้ามไปยัง Port ของ VLAN Member อื่นๆ

ความหมายของ VLAN (Virtual LAN) ต่อ กล่าวอีกนัยหนึ่ง VLAN เปรียบเสมือนการแบ่งกลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ราวกับว่าอยู่ LAN เดียวกัน สื่อสารได้เฉพาะเครื่องในกลุ่มสมาชิกใน VLAN เดียวกันเท่านั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน VLAN เดียวกันนั้นสามารถเชื่อมต่ออยู่กับ Port ของ Switch ตัวเดียวกัน หรือ จะเชื่อมต่ออยู่กับ Port บน Switch คนละตัวก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้าง VLAN ทำให้ง่ายแก่การบริหารจัดการระบบเครือข่ายภายในองค์กร และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานในระบบเครือข่าย จำกัดขอบเขตการแพร่ Broadcast Traffic ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพโดยรวมของระบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับระบบเครือข่าย สำหรับบน L2 นั้น VLAN แต่ละ VLAN จะมองไม่เห็นกัน ดังนั้นจึงสามารถป้องกันเทคนิคการ Spoofing (เป็นการโจมตีระบบเครือข่ายรูปแบบหนึ่ง)

ตัวอย่างหลักเกณฑ์การออกแบบ VLAN แบ่งตามตำแหน่งทางกายภาพ เช่น แบ่งตามชั้นของอาคารที่ตั้ง แบ่งตามหน่วยงาน เช่น ฝ่ายบัญชี ฝ่ายสินเชื่อ ห้องอบรม เป็นต้น ภายใน 1 VLAN ควรประกอบด้วย 1 Subnet Address เท่านั้น โดย Default บน Switch ที่ยังไม่มีการแบ่ง VLAN ทุก Port จะถือว่า VLAN Default คือ หมายเลข 1

การสร้าง VLAN และการเข้าเป็นสมาชิกของ VLAN มี 2 ชนิด คือ Static VLANs และ Dynamic VLANs Static VLANs หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า port-base membership (การเป็นสมาชิกของ VLAN โดยพิจารณาจาก Port ที่เชื่อมต่อ) Port ของ Switch ถูกกำหนดโดยผู้ดูแลระบบ ถึงแม้เครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องจะเชื่อมต่ออยู่บน Switch Device เดียวกัน แต่หาก Port ที่เชื่อมต่ออยู่เป็นสมาชิกของต่างๆ VLAN กัน เครื่องสองเครื่องดังกล่าวจะไม่มีทางสื่อสารกันได้ ในการทำให้เครื่องเครื่องที่อยู่ต่าง VLAN กันหากต้องการสื่อสารกัน จำเป็นต้องใช้ Switch Device L3 หรือ Router เข้ามาช่วย

Q/A