งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Virtual Trunking Protocol 8 05/04/60

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Virtual Trunking Protocol 8 05/04/60"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Virtual Trunking Protocol 8 05/04/60
Copyrights by Ranet Co.,Ltd., All rights reserved

2 ไฟล์ฐานข้อมูล VLAN ใน Flash (VLAN.DAT)
ตำแหน่งฐานข้อมูล VLAN ที่สวิตช์ VTP โหมดต่างๆ นำมาใช้ 8-1

3 แต่แรกเป็นไฟล์ VLAN.dat ใน Flash
Router Console Switch#dir flash: Directory of flash:/ 1 -rw <no date> c2950-i6q4l2-mz EA4.bin 2 -rw <no date> vlan.dat แต่แรกเป็นไฟล์ VLAN.dat ใน Flash (เพราะโหมด Default ของ VTP เป็น Server อยู่แล้ว) มีแค่ VLAN ID และ Name (จึงต้องตั้งค่าสมาชิกของพอร์ตบนแต่ละเครื่องเอง) เพราะฉะนั้น การรีเซ็ตสวิตช์ให้กลับเป็นเหมือนมาจากโรงงาน นอกจากลบ Startup Config แล้ว ต้องลบ VLAN.dat ในแฟลชก่อนรีโหลดด้วย 8-2

4 จัดการฐานข้อมูล VLAN ของ Switch ทั้ง LAN
ส่ง VTP frame บน Trunk เท่านั้น!!! Switch จะมี VTP mode อยู่ 3 แบบ: Server: เจ้าของฐานข้อมูล Client: ผู้ที่คอยรับฐานข้อมูลมาใช้ Transparent: ไม่มีส่วนร่วม แต่ช่วยส่งต่อ 8-3

5 VTP version: บอกว่าอุปกรณ์นี้เลือกใช้งานได้ถึงเวอร์ชั่น 2 “ไม่ได้บอกว่ากำลังใช้เวอร์ชั่น 2 อยู่”
Configuration Revision คือเลขเวอร์ชั่นของฐานข้อมูล VLAN ถ้ารับข้อมูลที่ Configuration Revision สูงกว่าตัวที่ตนเองใช้อยู่ ก็จะอัพเดตตามตัวใหม่ VTP Operating Mode: โหมด VTP ของสวิตช์ ซึ่งบ่งบอกพฤติกรรมที่จะจัดการฐานข้อมูล VLAN VTP Domain name: ชื่อโดเมนที่ตั้งไว้เพื่อให้สวิตช์ที่เชื่อมต่อกันแบบ Trunk ที่มีโดเมนเดียวกัน ใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน VTP V2 mode: บอกว่าใช้เวอร์ชั่น 2 อยู่หรือไม่ ค่าดีฟอลท์เป็น Disabled (คือใช้เวอร์ชั่น 1) เพราะถ้าสวิตช์ในโดเมนตัวใดไม่รองรับเวอร์ชั่น 2 จะไม่สามารถเข้าร่วมโดเมนได้ Router Console Switch#show vtp status VTP Version : 2 Configuration Revision : 4 Maximum VLANs supported locally : 255 Number of existing VLANs : 8 VTP Operating Mode : Server VTP Domain Name : ranet VTP Pruning Mode : Disabled VTP V2 Mode : Enabled 8-4

6 Server Client เป็นโหมด Default Transparent mode
แก้ไขฐานข้อมูล VLAN เองได้ บันทึกข้อมูล VLAN ลง Flash เป็นโหมด Default ส่งต่อ และนำข้อมูล VLAN มาแก้ไขบนตัวเองได้ VTP SERVER Transparent mode ถือว่าไม่เข้าร่วม VTP Domain แก้ไข VLAN “ของตัวเอง” ได้ แต่ไม่ส่งต่อ หรือรับข้อมูลตัวอื่นมาแก้ VLAN “ของตัวเอง” ใน VTP version 2: จะส่งต่อ VTP frame ที่ได้รับ ที่อยู่ในโดเมนเดียวกัน ไปให้ Switch ตัวอื่น  Revision No.= “0” เสมอ Client mode  แก้ไขฐานข้อมูล VLAN เองไม่ได้ ไม่บันทึกข้อมูล VLAN ถ้าเปิดเครื่องใหม่จะยังไม่มีข้อมูล VLAN  ส่งต่อ และนำข้อมูล VLAN มาแก้ไขบนตัวเองได้ VTP Client 8-5

7 ขั้นตอนการรับเฟรม VTP มาพิจารณา 1. ตรวจโดเมนว่าตรงหรือไม่?
VTP SERVER Transparent VTP Client Trunk Domain: Ranet Rev.no.: 4 Vlan 10: engineer Rev.no.: “0” Vlan 20: sales Rev.no.: VTP Frame ขั้นตอนการรับเฟรม VTP มาพิจารณา 1. ตรวจโดเมนว่าตรงหรือไม่? 2. ตรวจ Revision No. ว่ามากกว่าหรือไม่? 8-6

8 Default คือ “1” (VTP V2 Mode: Disabled)
ห้ามเปลี่ยนเป็น “2” ถ้า Switch ในโดเมนไม่รองรับทุกตัว สิ่งที่พัฒนาขึ้นใน VTP version 2 Transparent Switch ส่งต่อ VTP frame ได้โดยไม่ขึ้นว่าเป็นเวอร์ชั่นเดียวกันหรือไม่ !!! รองรับ LAN ที่ใช้โปรโตคอล Token Ring สิ่งที่พัฒนาขึ้นใน VTP version 3 รองรับ VLAN ID ในช่วงที่ไกลกว่า (Extended: 1006 – 4094) ทำงานกับเวอร์ชั่น 1 และ 2 ได้ สามารถเข้าไปตั้งค่าการเป็นสมาชิก VLAN ของแต่ละพอร์ทได้ 8-7

9 เช่น switch(config)# vtp domain Ranet
ตั้งค่า vtp version (ได้ 1-3 แล้วแต่สถานะ VTP version บนสวิตช์) เช่น Switch(config)# vtp version 2 ตั้งค่า vtp password (หรือไม่ก็ได้ ถ้าตั้งต้องตั้งเองหมดทุกสวิตช์) เช่น switch(config)# vtp password Ranetvtppass ทวนสอบการตั้งค่าด้วยคำสั่ง show vtp status เช่น switch# show vtp status 8-8

10 ดังนั้นก่อนนำมาเชื่อมต่อ ต้อง:
การนำ Switch ที่มี Rev.no. สูงกว่าบนโดเมนเดิมมาเชื่อมต่อ อาจไปทำลายฐานข้อมูล VLAN เดิมบนโดเมนได้ (เพราะเป็นโหมด Server โดย Default) ดังนั้นก่อนนำมาเชื่อมต่อ ต้อง: รีเซ็ต Rev.no. โดยเปลี่ยนโหมดเป็น Transparent หรือ ตั้งค่า VTP password ในโดเมน ซึ่งต้องตั้งเองบน Switch ทุกตัว! หรือ เปลี่ยนโดเมนเป็นชื่ออื่นก่อน 8-9

11 VTP SERVER VTP Client Server กระจายคำสั่ง Pruning Switch ในโดเมนส่งข้อมูล Active VLAN ให้เพื่อนบ้าน แล้วจึงเลือกปิดการสื่อสาร VLAN ที่ไม่ใช้งานบน Trunk Bandwidth บน Trunk จึงถูกใช้อย่างคุ้มค่า ฟีเจอร์นี้ใช้ลดการใช้แบนด์วิธบน Trunk ด้วยการปิด (Prune) การสื่อสารของ VLAN ที่ไม่มีการใช้งานบนสวิตช์ฝั่งตรงข้าม (Inactive) 8-10

12 ตั้งค่า vtp pruning บนสวิตช์ที่เป็นโหมด “Server”
เช่น switch(config)# vtp pruning ทวนสอบการตั้งค่าด้วยคำสั่ง show vtp status เช่น switch# show vtp status ตรวจดูรายการ VLAN ที่โดน Prune บน Trunk ด้วยคำสั่ง show interface trunk Router Console Switch#sh interfaces trunk Port Mode Encapsulation Status Native vlan Fa0/ on q trunking Port Vlans allowed on trunk Fa0/ Port Vlans allowed and active in management domain Fa0/ ,30,40,50 Port Vlans in spanning tree forwarding state and not pruned Fa0/ ,30,50 8-11


ดาวน์โหลด ppt Virtual Trunking Protocol 8 05/04/60

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google