– Web Programming and Web Database

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ธีระพงษ์ แสงรักษาวงศ์
Advertisements

Ajax อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
หัวข้อชั้นสูงเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
Active Sever Page.
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Chapter VI : การบันทึกข้อมูลผ่านเว็บเพจ
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
Location object Form object
JavaScript.
PHP LANGUAGE.
PHP LANGUAGE.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ทส215 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ 1
อาเรย์ (Array).
การส่งค่าและการเก็บค่า (ต่อ... )
HTTP Client-Server.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
Request Object.
– Web Programming and Web Database
การติดตั้ง AppServ
Introduction to php Professional Home Page :PHP
Php with Database Professional Home Page :PHP
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
จากไฟล์ save_db.php.
การกำหนดค่าเริ่มต้นและ การใช้งาน server ผ่าน Dreamweaver
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
PHP.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การสร้างช่องรับข้อมูล
PHP:Hypertext Preprocessor
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
HTML, PHP.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
เสรี ชิโนดม รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
PHP for Web Programming
ฟังก์ชัน.
CHAPTER 12 FORM.
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database) Choopan Rattanapoka.
 Mr.Nitirat Tanthavech.  HTML forms are used to pass data to a server.  A form can contain input elements like text fields, checkboxes, radio-buttons,
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสำหรับการ แสดงวีดีโอจากเว็บไซต์ภายนอกใน เวิร์ดเพรส (Development plugin for displaying video from an external website in WordPress)
Download PHP. C:\windows\PHP.ini cgi.force_red irect = 0 พิมพ์แทรก.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Permission&User command/ LAMP. User command adduser [username] [option] passwd [username] deluser [option] [username]
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
PHP เบื้องต้น.
Introduction to SQL (MySQL) – Special Problem (Database)
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) บทที่ 2: ทบทวนการเขียน ภาษา Java ใช้ร่วมกับ Html และการรับข้อมูลจาก Form.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
PHP Html Form && Query string
Form.
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
PHP (1) - variables - math operations - form method
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

357337 – Web Programming and Web Database HTML & PHP 357337 – Web Programming and Web Database

HTML Forms and Input คือ Tag ใน HTML ที่สามารถสร้างขึ้นมาเพื่อให้ผู้ใช้สามารถใส่ค่า Input ต่าง ๆ ได้ ซึ่งประกอบไปด้วย input element ต่าง ๆ เช่น text fields, textarea fields, drop-down menus, radio buttons, checkboxes, etc. รูปแบบของ HTML Form <form> <input> <input> input elements . . </form>

Input : Text Field <input type="text" name=“………" /> <html><body> <form> First name: <input type="text" name="firstname" /> <br /> Last name: <input type="text" name="lastname" /> </form> </body></html>

Input : Text Field (2)

Input : Radio Buttons <input type=“radio” name=“...” value=“…“> <form> <input type="radio" name="sex" value="male"> Male <br> <input type="radio" name="sex" value="female"> Female </form>

Input : CheckBoxes <input type=“checkbox” name=“...” value=“…”> <form> bike: <input type="checkbox" name="vehicle" value="Bike"> <br> car: <input type="checkbox" name="vehicle" value="Car"> plane: <input type="checkbox" name="vehicle“ value=“Plane"> </form>

Input : DROP-DOWN menu

การส่งผ่านค่าใน FORM และ Submit Button <form name=“….” action=“…” method=“…”> <input type=“submit” value=“…”> <form name=“survey” action=“survey.html” method=“get”> Username : <input type=“text” name=“username”> <br> Password : <input type = “password” name=“passwd”> <input type=“submit” value=“Login”> </form>

การส่งผ่านค่าใน FORM และ Submit Button (2) <html> <body> ………………. survey.html

PHP PHP มาจาก PHP : Hypertext Preprocessor ทำงานที่ฝั่งของ server เช่นเดียวกับ ASP สามารถทำงานร่วมกับระบบฐานข้อมูลได้หลายชนิด (MySQL, Informix, Oracle, Sybase, ..etc) PHP เป็น open source PHP ฟรี PHP สามารถทำงานได้ในหลาย OS (Windows, Linux, Unix, etc..) Web server เกือบทุกเจ้ารองรับ PHP (IIS, Apache) โดยปกติจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในรูป .php , .php3 หรือ .phtml

ก่อนจะเริ่มเขียน PHP *** ต้องทำการติดตั้งโปรแกรม PHP ก่อน *** AppServ ในการเรียนการสอนต่อไป เราจะใช้ AppServ ซึ่งไปการรวม software หลายอย่างเข้าด้วยกัน เพื่อเป็น package ที่ง่ายในการติดตั้ง และ ใช้งาน Website: http://www.appservnetwork.com ในโปรแกรม AppServ (AppServ 2.5.10) จะประกอบไปด้วย Apache 2.2.8 : เป็นโปรแกรม web server PHP 5.2.6 : module PHP ที่ทำให้ web server สามารถใช้งานภาษา PHP ได้ MySQL 5.0.51b : ระบบฐานข้อมูล mySQL phpMyAdmin-2.10.3 : เป็น web page ที่ช่วยในการติดต่อการระบบฐานข้อมูล mySQL ทำให้ทำงานกับระบบฐานข้อมูล mySQL ได้ง่ายขึ้น

เริ่มต้นกับ PHP Syntax ของ PHP จะอยู่ในรูป <?php โปรแกรม PHP ?> ทดลองง่ายๆ ก่อนกับฟังค์ชั่น echo Comment ใน PHP ใช้เหมือนภาษา C , Java คือ // และ /* */ <html> <body> <? echo “Hello World”; ?> </body> </html>

PHP HTML <html> <body> <? echo “Hello World”; ?>

การประกาศตัวแปรใน PHP $myVariable = 5; $txt = “Hello World”; PHP เป็นภาษา script ที่ไม่สนใจประเภทของข้อมูลจึงไม่จำเป็นต้องประกาศประเภทของข้อมูล (int, string,..) ให้กับตัวแปร ตัวอย่าง : <? $txt = “Hello World”; echo $txt; ?>

PHP Operator การเชื่อมต่อข้อความ จะเชื่อมต่อด้วยเครื่องหมายจุด “ . “ การเชื่อมต่อข้อความ จะเชื่อมต่อด้วยเครื่องหมายจุด “ . “ <? $txt1=“Hello World”; $txt2 =“123”; echo $txt1 . “ “ . $txt2; ?> การทำ arithmetic operation ก็ใช้เครื่องหมายเหมือนภาษา C, java +, - , * , / , %, ++, --, +=, -= , == , != , <=

PHP Condition : If-else If-else ลักษณะการทำงานเหมือนกับภาษา C, Java if (เงื่อนไข ) { คำสั่งถ้าเป็นจริงที่ 1; คำสั่งถ้าเป็นจริงที่ 2; … คำสั่งถ้าเป็นจริงที่ N; } else { คำสั่งถ้าเป็นเท็จ ที่1; คำสั่งถ้าเป็นเท็จ ที่2; … คำสั่งถ้าเป็นเท็จ ที่N; }

ตัวอย่าง PHP Condition : If-else <? $score = 75; if($score >= 80) echo “A”; else if($score >= 70) echo “B”; else if($score >= 60) echo “C”; else if($score >= 50) echo “D”; else echo “F”; ?>

PHP Condition : Switch switch (n) { case เงื่อนไขที่1:   คำสั่ง ถ้า n = เงื่อนไขที่ 1   break; case เงื่อนไขที่2:    คำสั่ง ถ้า n = เงื่อนไขที่ 2   break; default:    คำสั่ง ถ้า n ไม่ตรงกับเงื่อนไขที่ 1 และ 2 }

ตัวอย่าง PHP Condition : Switch $x = 4; switch ($x) { case 1:   echo "Number 1";   break; case 2:   echo "Number 2";   break; case 3:   echo "Number 3";   break; default:   echo "No number between 1 and 3"; } ?>

PHP Arrays การประกาศตัวแปรแบบข้อมูลชุด ซึ่งจะมีหลาย ๆ ค่าในชื่อตัวแปรเดียว ประกอบไปด้วยarray ทั้งหมด 3 ชนิด Numeric array – Array ที่ใช้ index เป็นตัวเลข Associative array - Array ที่ใช้ index เป็นค่าต่าง ๆ Multidimensional array - Array ที่ประกอบไปด้วย Array ซ้อนกัน

Numeric array ประกาศได้ 2 แบบ คือ $cars=array("Saab","Volvo","BMW","Toyota"); $cars[0]="Saab"; $cars[1]="Volvo"; $cars[2]="BMW"; $cars[3]="Toyota"; ตัวอย่าง <?php $cars[0]="Saab"; $cars[1]="Volvo"; $cars[2]="BMW"; $cars[3]="Toyota"; echo $cars[0] . " and " . $cars[1] . " are Swedish cars."; ?>

Associative array ประกาศได้ 2 แบบ คือ $ages = array("Peter"=>32, "Quagmire"=>30, "Joe"=>34); $ages['Peter'] = "32"; $ages['Quagmire'] = "30"; $ages['Joe'] = "34"; ตัวอย่าง <?php $ages['Peter'] = "32"; $ages['Quagmire'] = "30"; $ages['Joe'] = "34"; echo "Peter is " . $ages['Peter'] . " years old."; ?>

HTML + PHP PHP จะสามารถรับค่าจาก form ของ HTML เช่น จากตัวอย่างคิดเกรด เราจะทำหน้า web page เพื่อรับค่า score แล้วส่งค่าไปให้ php PHP <html> <form action=“a.php" method="get"> score : <input type="text" name="score"> <input type="submit" value="submit"> </form> </html>

การรับค่าใน PHP grade.html ใน HTML FORM จะมี method อยู่ 2 แบบ คือ get และ post การดึงค่าจาก method=“get” จะดึงค่าจากตัวแปรที่ชื่อ $_GET การดึงค่าจาก method=“post” จะดึงค่าจากตัวแปรที่ชื่อ $_POST ทั้ง $_GET และ $_POST เป็นตัวแปรชนิด array <html> <? $score = $_GET[“score”]; if($score >= 80) echo “A”; else if($score >= 70) echo “B”; else if($score >= 60) echo “C”; else if($score >= 50) echo “D”; else echo “F”; ?> </html> <html> <form action=“a.php" method="get"> score : <input type="text" name="score“> <input type="submit" value="submit"> </form> </html> grade.html

GET และ POST Method ในระบบ form คือ GET และ POST มีความแตกต่างกันดังนี้ GET ค่าที่เราใส่เข้าไปจะถูกแสดงใน URL ของหน้าใน action ทำให้มีความไม่ปลอดภัยถ้าค่าที่จะส่งอีกหน้าเป็น password เพราะจะถูกแสดงใน URL แต่จะทำให้สามารถทำ bookmark ได้ POST ค่าที่ใส่ใน form จะไม่ถูกแสดงใน URL ของหน้าใน action ทำให้มีความปลอดภัยในข้อมูลที่ส่งระหว่างหน้าเว็บ แต่จะไม่สามารถทำ bookmark ได้