ลำดับการทำงานหน่วยความจำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
Lists Data Structure LAUKHWAN NGAMPRASIT LAUKHWAN NGAMPRASIT.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Fast Page Mode DRAM (FPM DRAM) AND Extended-Data Output (EDO) DRAM
การสร้างคำถาม.
รายงานการวิจัย.
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การจัดเรียงข้อมูล Sorting.
การจัดสรรหน่วยประมวลผล (Process Scheduling)
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวางแผนและการดำเนินงาน
Arrays.
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
หน่วยความจำเสมือน Virtual Memory.
โครงสร้างการทำงานของ OS
การติดตั้งภาษาไทยและการจัดการดิสก์
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
บทที่ 15 โปรแกรมย่อยและแสต็ก
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Memory Management ในยุคก่อน
บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เทคนิคการค้นหาข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การจัดการฐานข้อมูล.
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
โครงสร้างข้อมูลแบบรายการโยง (Link List)
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
… Cache …L1,L2.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การค้นหาสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
Data Structure and Algorithms
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
ผังงาน (Flow chart).
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
Effective Filling System
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลำดับการทำงานหน่วยความจำ เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 5 จงเรียงลำดับการทำงานของหน่วยความจำและบอกจุดแข็งจุดอ่อนของหน่วยความจำแต่ละประเภท ลำดับการทำงานหน่วยความจำ จุดแข็ง จุดอ่อน Register หน่วยความจำที่มีความเร็วสูง พื้นที่การจัดเก็บน้อยต้องใช้ไฟเลี้ยงตลอดเวลา Cache หน่วยความจำที่มีความเร็วสูงรองจากรีจิสเตอร์ Main memory หน่วยความจำที่เก็บข้อมูลได้จำนวนมากกว่ารีจิสเตอร์ และ แคช ความเร็วในการทำงานช้ากว่ารีจิสเตอร์และแคช ต้องใช้ไฟเลี้ยงตลอดเวลา Secondary memory เก็บข้อมูลได้จำนวนมากที่สุดและถาวรไม่ต้องมีไฟเลี้ยง ความเร็วในการทำงานช้า

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 5 2) กำหนดให้ดิสก์ของระบบคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งถูกแบ่งออกเป็น 200 ไซลินเดอร์(0-199) ขณะนี้หัวอ่านของดิสก์อยู่ที่ไซลินเดอร์ที่ 100 ถ้ามีการขอใช้ที่ไซลินเดอร์ต่าง ๆ ตามลำดับดังนี้ 55,58,39,18,90,160,150,38 และ 184 ระบบจะจัดสรรการใช้ดิสก์อย่างไร เมื่อกำหนดให้ใช้การจัดการใช้ดิสก์ด้วยวิธีต่อไปนี้ การจัดเวลาแบบมาก่อนได้ก่อน การจัดเวลาแบบสแกน การจัดเวลาแบบสั้นที่สุดได้ก่อน การจัดเวลาแบบซี-สแกน

การจัดเวลาแบบมาก่อนได้ก่อน (First Come First Serve Scheduling : FCFS) การเคลื่อนที่หัวอ่าน-เขียน จำนวน ไซลินเดอร์ 100->55 45 55->58 3 58->39 19 39->18 21 18->90 72 90->160 70 160->150 10 150->38 112 38->184 146 รวม 498

การเคลื่อนที่หัวอ่าน-เขียน การจัดเวลาแบบสั้นที่สุดได้ก่อน (Shortest Seek Time First Scheduling : SSTF) การเคลื่อนที่หัวอ่าน-เขียน จำนวน ไซลินเดอร์ 100->90 10 90->58 32 58->55 3 55->39 16 39->38 1 38->18 20 18->150 132 150->160 160->184 24 รวม 248

การจัดเวลาแบบสแกน (SCAN) การเคลื่อนที่หัวอ่าน-เขียน จำนวนไซลินเดอร์ 100->90 10 90->58 32 58->55 3 55->39 16 39->38 1 38->18 20 18->0 18 0-150 150 150->160 160->184 24 รวม 284 การเคลื่อนที่หัวอ่าน-เขียน จำนวนไซลินเดอร์ 100->150 50 150->160 10 160->184 24 184->199 15 199->90 109 90->58 32 58->55 3 55->39 16 39->38 1 38->18 20 รวม 280 ดีที่สุด

การจัดเวลาแบบซี-สแกน (C-SCAN) การเคลื่อนที่หัวอ่าน-เขียน จำนวนไซลินเดอร์ 100->150 50 150->160 10 160->184 24 184->199 15 199->0 199 0->18 18 18->38 20 38->39 1 39->55 16 55->58 3 58->90 32 รวม 388 การเคลื่อนที่หัวอ่าน-เขียน จำนวนไซลินเดอร์ 100->90 10 90->58 32 58->55 3 55->39 16 39->38 1 38->18 20 18->0 18 0-199 199 199->184 15 184->160 24 160->150 รวม 348 ดีที่สุด

3) จงอธิบายข้อดีข้อเสียของวิธีการจัดการใช้ดิสก์ทั้ง 4 วิธี การจัดเวลาแบบมาก่อนได้ก่อน ข้อดี คือ วิธีการจัดเวลาการใช้ดิสก์ที่ง่ายที่สุด ข้อเสีย คือ หัวอ่าน-เขียน ต้องเคลื่อนที่มาก ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานค่อนข้างต่ำ การจัดเวลาแบบสั้นที่สุดได้ก่อน ข้อดี คือ เสียเวลาค้นหาน้อย ในการหาตำแหน่งในการอ่านข้อมูลจากตำแหน่งปัจจุบัน ข้อเสีย คือ การอดตาย จากการร้องขอใช้ดิสก์แต่ไม่มีโอกาสได้รับจัดสรรให้ใช้ดิสก์ กรณีที่มีการร้องขอมาใหม่แต่ใช้เวลาน้อยกว่าการร้องขอปัจจุบันที่จะได้โอกาสเข้าใช้

3) จงอธิบายข้อดีข้อเสียของวิธีการจัดการใช้ดิสก์ทั้ง 4 วิธี การจัดเวลาแบบสแกน ข้อดี คือ พิจารณาความหนาแน่ของการร้องขอจะได้รับบริการอย่างรวดเร็ว ข้อเสีย คือ การร้องขอที่อยู่ฝั่งตรงข้ามอีกด้านหนึ่งต้องเสียเวลารอนานกว่า การจัดเวลาแบบซี-สแกน ข้อดี คือ ลดปัญหาการเกิดภาวะรออย่างไม่รู้จบได้ จัดลำดับรายการร้องขอจำนวนมากให้อยู่ในรูปแบบที่จะตอบสนองให้ดีที่สุดได้ ข้อเสีย คือ ใช้เวลาในการคำนวณ (ต้องใช้ต้นทุนมากกว่าแบบสแกน)

4) การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential ต่างจาก Random อย่างไรจงอธิบาย มีลักษณะในการอ่านข้อมูลตามลำดับต่อเนื่อง ในการอ่านไม่จำเป็นต้องอ่านไปเรื่อย ๆ ทุก ๆ ส่วน ส่วนที่ไม่ต้องการก็สามารถกรอข้ามไปข้างหน้าเพื่ออ่านข้อมูลที่ต้องการได้ หรือกรอกลับหลังกรณีที่ต้องการอ่านข้อมูลเดิมซ้ำ ลักษณะการอ่านข้อมูลสามารถอ่านได้อย่างอิสระ และเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงโดยไม่ต้องผ่านข้อมูลที่ขวางอยู่

5) จงอธิบายการทำงานของโครงสร้างไดเร็กทอรี่แบบต้นไม้ พร้อมระบุข้อดี ข้อเสีย และวิธีแก้ข้อเสีย โครงสร้างแบบต้นไม้ ผู้ใช้มีอิสระในการจัดหมวดหมู่ไฟล์ได้มากขึ้น สามารถสร้างไดเร็กทอรี่ซ้อนไดเร็กทอรี่ได้เรื่อย ๆ คล้ายต้นไม้ที่สามารถสร้างให้สูงกี่ชั้นไดเร็กทอรี่ก็ได้ การอ้างถึงแฟ้มต้องเริ่มต้นจากสารบบรากเสมอตามด้วยชื่อสารบบย่อยต่าง ๆ ไล่ตามลำดับชั้นจนถึงสารบบย่อยที่แฟ้มนั้นอยู่และตามด้วยชื่อแฟ้มนั้น ข้อดี สามารถตั้งชื่อไดเร็กทอรี่ซ้ำได้ แต่ต้องอยู่คนละระดับชั้นกัน สามารถสร้างซ้อนไดเร็กทอรี่ได้เรื่อย ๆ ไม่จำกัด (สร้างสารบบได้หลายระดับ) ข้อเสีย -