การวิเคราะห์ความแปรปรวน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา
การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
2-test.
Menu Analyze > Correlate
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
T-Test compare with mean Independent Paired
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ความแปรปรวน BC428 : Research in Business Computer

ANOVA เป็นวิธีการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ เพื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของประชากรที่มีตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป One Way ANOVA ANOVA Two Way ANOVA BC428 : Research in Business Computer

One way ANOVA เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยตัวแปรหรือปัจจัยที่จะมีผลกระทบกับตัวแปรหลักเพียงแค่ 1 ตัวเท่านั้น เช่น อาชีพ  ทหาร  อาจารย์  วิศวกร ค่าใช้จ่าย …………………………. บาท/เดือน BC428 : Research in Business Computer

ข้อตกลงเบื้องต้นของ ANOVA กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดสอบในแต่ละกลุ่มจะต้องมีการแจกแจงแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดสอบจะต้องมีความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้แต่ละกลุ่มจะต้องเป็นอิสระกัน BC428 : Research in Business Computer

ตาราง ANOVA Between Groups k-1 SSB MSB f= Within Groups n-k SSW MSW Source of Variance (SOV) df Sum Square (SS) Mean Square (MS) F-ratio Between Groups k-1 SSB MSB f= Within Groups n-k SSW MSW Total n-1 SST BC428 : Research in Business Computer

สมมติฐาน ANOVA Ho : 1 = 2 = … = k H1 : มี i อย่างน้อย 1 คู่ที่แตกต่างกัน BC428 : Research in Business Computer

Data9_1.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. ชั้นปี  ชั้นปี 1  ชั้นปี 2  ชั้นปี 3  ชั้นปี 4 2. จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ ……………….. ชั่วโมง/วัน ต้องการทดสอบจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปีว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

ทดสอบการแจกแจงแบบปกติ และการทดสอบความแปรปรวนของข้อมูล ทดสอบการแจกแจงแบบปกติ และการทดสอบความแปรปรวนของข้อมูล คำสั่ง Analyze  Descriptive Statistics  Explore… ทดสอบการแจกแจงปกติ BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบการแจกแจงแบบปกติ เมื่อจำแนกตามชั้นปีที่ 1 1)Ho : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีการแจกแจงแบบปกติ H1 : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ไม่มีการแจกแจงแบบปกติ 2)สถิติทดสอบ คือ Shapiro-Wilk = 0.924 3)ค่า Sig = 0.355 4)ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5)ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีการแจกแจงแบบปกติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ฯลฯ BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์การแจกแจงปกติ จากการวิเคราะห์จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เมื่อจำแนกตามชั้นปี พบว่า จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของแต่ละชั้นปี มีการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบเมื่อจำแนกตามชั้นปีที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.355 ชั้นปีที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.094 ชั้นปีที่ 3 มีค่าเท่ากับ 0.331 ชั้นปีที่ 4 มีค่าเท่ากับ 0.372 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบความแปรปรวน BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบความแปรปรวนของข้อมูล Ho : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี มีความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาอย่างน้อย 2 ชั้นปี มีความแปรปรวนแตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ Levence statistic = 0.411 ค่า Sig = 0.746 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี มีความแปรปรวนไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนของจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี พบว่า มีความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน ค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ 0.746 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

ทดสอบ One-Way ANOVA คำสั่ง Analyze  Compare Means  One-Way ANOVA… BC428 : Research in Business Computer

BC428 : Research in Business Computer

ทดสอบ ANOVA Ho : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี ไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 ชั้นปี แตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ F = 3.044 ค่า Sig = 0.041 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig <  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 ชั้นปี แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในกรณีที่ Reject H0 จะต้องดูตาราง Post Hoc ต่อ BC428 : Research in Business Computer

Post Hoc Tests BC428 : Research in Business Computer

ตรวจสอบว่าคู่ใดแตกต่างกันมาก วิธีหาจำนวนคู่ = k(k-1)/2 เมื่อข้อมูลถูกจำแนกเป็น 4 กลุ่ม จะต้องทดสอบข้อมูล = 4(4-1) /2 = 6 คู่ BC428 : Research in Business Computer

ตัวอย่าง การทดสอบความแตกต่างระหว่างจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ ระหว่าง ชั้นปีที่ 1 กับปีที่ 2 Ho : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 ไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 แตกต่างกัน ค่า Sig = 0.493 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ฯลฯ BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ANOVA ชั้นปี N SD F Sig 1 2 3 4 11 12 6 5.18 4.33 4.83 จำนวนชั่วโมงในการ เล่นเกมส์ออนไลน์ ชั้นปี N SD F Sig 1 2 3 4 11 12 6 5.18 4.33 4.83 7.82 3.13 2.93 2.48 2.96 3.044 0.041 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษา 4 ชั้นปี พบว่า มีอย่างน้อย 2 ชั้นปีที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่มเกมส์ออนไลน์แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับ 0.041 ดังนั้น จึงต้องทดสอบเพื่อหาความแตกต่างระหว่างชั้นปี โดยใช้วิธีการทดสอบ Multiple Comparison Test และเลือกใช้ค่าสถิติ LSD ในการทดสอบ ซึ่ง แสดงผลลัพธ์ในตาราง ดังนี้ BC428 : Research in Business Computer

*แสดงชั้นปีที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน 1 2 3 4 - 0.848 0.348 -0.500 -2.636* -3.485* -2.985 *แสดงชั้นปีที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน จากตารางพบว่า มีจำนวนชั้นปีที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน 2 คู่ ดังนี้คือ ชั้นปีที่ 1 กับ ชั้นปีที่ 4 และ ชั้นปีที่ 2 กับชั้นปีที่ 4 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และคู่ที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกันมากที่สุดคือ ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 4 ซึ่งมีค่าความแตกต่างเท่ากับ 3.485 ชั่วโมง BC428 : Research in Business Computer

Two-Way ANOVA เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยตัวแปรหรือปัจจัยที่จะมีผลกระทบกับตัวแปรหลัก 2 ตัว เช่น อาชีพ  ทหาร  อาจารย์  วิศวกร อายุ  ต่ำกว่า 20 ปี  21-35 ปี  ตั้งแต่ 36 ปี ค่าใช้จ่าย …………………………. บาท/เดือน BC428 : Research in Business Computer

ตาราง Two-Way ANOVA Between Row r-1 SSR MSR f= Between Column c-1 SSC Source of Variance (SOV) df Sum Square (SS) Mean Square (MS) F-ratio Between Row r-1 SSR MSR f= Between Column c-1 SSC MSC Interaction effect (r-1) (c-1) SSRC MSRC Error rc(n-1) SSE MSE Total nrc-1 SST MST BC428 : Research in Business Computer

สมมติฐาน Two-Way ANOVA ทดสอบ 3 เรื่อง เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่เกิดขึ้นจากการมีความผันแปรร่วมระหว่างแถวกับคอลัมน์ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่เกิดขึ้นในแถว เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่เกิดขึ้นในคอลัมน์ BC428 : Research in Business Computer

Data9_2.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม .ชั้นปี  ชั้นปี 1  ชั้นปี 2  ชั้นปี 3  ชั้นปี 4 .คณะ  บริหารธุรกิจ  บัญชี  วิทยาศาสตร์ .จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ ……………….. ชั่วโมง/วัน จากแบบสอบถามเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวนชั่วโมงในการเล่นสนทนาออนไลน์(Chat) ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี จากนักศึกษาทั้งหมด 3 คณะ เพื่อทดสอบ Two-way ANOVA BC428 : Research in Business Computer

Analyze  General Linear Model  Univariate… คำสั่ง Analyze  General Linear Model  Univariate… Univariate Analysis of Variance BC428 : Research in Business Computer

BC428 : Research in Business Computer

BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบการมีความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะ Ho : ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะไม่มีผลต่อจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ของนักศึกษา H1 : ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะมีผลต่อจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ของนักศึกษา สถิติทดสอบ คือ F = 0.647 ค่า Sig = 0.692 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะไม่มีผลต่อจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ของนักศึกษา ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบค่าเฉลี่ยของการสนทนาออนไลน์ระหว่างนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี Ho : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี ไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 ชั้นปี แตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ F = 2.495 ค่า Sig = 0.080 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในกรณีที่ Accept H0 ไม่ต้องดูตาราง Post Hoc ต่อ BC428 : Research in Business Computer

การทดสอบค่าเฉลี่ยของการสนทนาออนไลน์ระหว่างนักศึกษาทั้ง 3 คณะ Ho : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาทั้ง 3 คณะ ไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 คณะ แตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ F = 6.380 ค่า Sig = 0.005 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig <  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 คณะ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในกรณีที่ Reject H0 จะต้องดูตาราง Post Hoc ต่อ BC428 : Research in Business Computer

faculty BC428 : Research in Business Computer

ทั้งหมดที่จะต้องทดสอบ = 3(3-1)/2 = 3 คู่ ทั้งหมดที่จะต้องทดสอบ = 3(3-1)/2 = 3 คู่ ตัวอย่าง การทดสอบความแตกต่างระหว่างจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ ระหว่างคณะบริหารธุรกิจและคณะบัญชี Ho : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและคณะบัญชีไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและคณะบัญชีแตกต่างกัน ค่า Sig = 0.003 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig <  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและคณะบัญชีแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ฯลฯ BC428 : Research in Business Computer

ผลการวิเคราะห์ จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์(ชั่วโมง/วัน) บริหารธุรกิจ บัญชี วิทยาศาสตร์ รวม SD ชั้นปี 1 8.50 2.121 5.14 2.911 2.00 0.000 5.18 3.125 ชั้นปี 2 6.20 3.421 3.00 1.414 2.000 4.33 2.934 ชั้นปี 3 6.00 2.646 2.50 0.707 4.83 2.483 ชั้นปี 4 10.25 1.708 6.50 2.881 7.82 2.960 7.64 3.054 4.42 2.539 4.57 2.875 ชั้นปี F= 2.495;Sig of F= 0.080 คณะ F= 6.380;Sig of F=0.005 ชั้นปี*คณะ F=0.647 ;Sig of F= 0.692 BC428 : Research in Business Computer

จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์โดยจำแนกตามชั้นปี และ คณะ พบว่า เมื่อวิเคราะห์ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะ พบว่า ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะ ไม่มีผลต่อจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ของนักศึกษา ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับ 0.692 เมื่อจำแนกตามชั้นปี พบว่าทั้ง 4 ชั้นปีมีจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับ 0.080 เมื่อจำแนกตามคณะ พบว่ามีอย่างน้อย 2 คณะที่มีจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับ 0.041 ดังนั้น จึงต้องทดสอบเพื่อหาความแตกต่างระหว่างชั้นปี โดยใช้วิธีการสอบสอบ Multiple Comparison Test และเลือกใช้ค่าสถิติ LSD ในการทดสอบ ซึ่ง แสดงผลลัพธ์ในตาราง ดังนี้ BC428 : Research in Business Computer

*แสดงคณะที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน บริหารธุรกิจ บัญชี วิทยาศาสตร์ - 3.23* 3.07* -0.15 *แสดงคณะที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน จากตารางพบว่า มีจำนวนคณะที่มีจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ที่แตกต่างกัน 2 คู่ ดังนี้คือ คณะบริหารธุรกิจกับคณะบัญชี และคณะบริหารธุรกิจกับคณะวิทยาศาสตร์ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และคู่ที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกันมากที่สุดคือ คณะบริหารธุรกิจกับคณะบัญชี ซึ่งมีค่าความแตกต่างเท่ากับ 3.23 ชั่วโมง BC428 : Research in Business Computer