แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
Advertisements

Adult Basic Life Support
กฎหมายทางการแพทย์ End-of-life Care
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
Tuberculosis วัณโรค.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โรคอุจจาระร่วง.
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ ( pneumonia )

กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยและ/หรือญาติที่ป่วยเป็นโรคปอด อักเสบ ผู้สอน เจ้าหน้าที่หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม สถานที่สอน/ระยะเวลาที่สอน หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม / 5-10นาที

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วย และ / หรือ ญาติ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค สาเหตุและสาเหตุส่งเสริม อาการ อาการแสดง การรักษาพยาบาล และการป้องกันโรคเรื่องปอดอักเสบอย่างถูกต้องและนำไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการกลับเป็นโรคซ้ำ

สาเหตุและสาเหตุส่งเสริม เนื้อหา สาเหตุและสาเหตุส่งเสริม สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก แบคทีเรีย รองลงมา คือ ไวรัส

สาเหตุส่งเสริม 1. การสูบบุหรี่ ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานของ ขนกวัดลดลง 2. ภาวะภูมิต้านทานต่ำ การได้รับยากดการสร้างภูมิ คุ้มกัน เช่น ยาต้านมะเร็ง ยาสเตียรอยด์ ภาวะขาด สารอาหาร ภูมิคุ้มกันบกพร่อง

3. การมีระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ เช่น บาดเจ็บทางศีรษะ ได้รับยาระงับความรู้สึกเกินขนาด โรคลมชัก 4. การนอนนานๆ หรือ ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว ทำให้เสมหะคั่งค้าง 5. การกลืนผิดปกติ

6. การเจาะคอ หรือ การใส่ท่อช่วยหายใจ ทำให้การทำ งานของขนกวัด เสียไป 7. การเป็นโรคเรื้อรัง เช่น โรคเอดส์ มะเร็ง เบาหวาน ผู้ป่วยเหล่านี้จะมี ภูมิต้านทานต่ำ

พยาธิสภาพ เมื่อเชื้อเข้าสู่ทางเดินหายใจส่วนล่างโดยการหายใจ การสำลัก หรือ เชื้อในทางเดินหายใจส่วนบนลุกลามเข้าสู่ปอดจะมีการเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็ว หลอดเลือดจะขยายตัว ทำให้เกิดการคั่งของเลือดบริเวณที่มีการอักเสบ

และมี สารคัดหลั่ง เข้าไปในถุงลม ซึ่งอาจมีการทำลาย ผนังถุงลม ทำให้การระบายอากาศและการแลกเปลี่ยน ก๊าซลดลง

อาการและอาการแสดง ไข้สูง อาจถึง 40 องศาเซลเซียส หนาวสั่น ไอ เสมหะ ตอนแรกอาจเป็นสีสนิมต่อมาเป็นสีเหลืองขุ่น ปนหนองหรือเขียว เจ็บหน้าอกคล้ายถูกทิ่มแทงจะเป็นมากเมื่อหายใจเข้าหรือมีการเคลื่อนไหวของทรวงอก อาจร้าวไปที่ไหล่ ท้อง บั้นเอว

2. อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน 3. ผู้ป่วยมักนอนตะแคงทับปอดข้างที่เกิดการอักเสบ

เสมหะแรกๆมีสีสนิม ต่อมาเป็นสีเหลืองปนหนอง 4. ในระยะแรกๆ ไอแห้งๆ สั้นๆ เจ็บหน้าอกมาก ไอมี เสมหะแรกๆมีสีสนิม ต่อมาเป็นสีเหลืองปนหนอง 5. ฟังปอดจะมีเสียงกรอบแกรบบริเวณที่มีการอักเสบ การขยายของปอดน้อยทำให้ได้ยินเสียงลมเข้าปอด เบาลง

การรักษาพยาบาล 1. ผู้ป่วยควรได้รับยาปฏิชีวนะครบตามจำนวนที่แพทย์สั่ง 2. การดูแลและบำบัดระบบทางเดินหายใจ เช่น - ส่งเสริมให้ทางเดินหายใจโล่ง : การไออย่างมีประสิทธิ ภาพ การดูดเสมหะ ในกรณีที่มีเสมหะมาก - การให้ออกซิเจน การใช้เครื่องช่วยหายใจ

3. การให้กายภาพบำบัดทรวงอก เช่น การเคาะปอด ผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย มักสูญเสียน้ำ และโซเดียม จากเหงื่อออกมาก คลื่นไส้อาเจียน ไข้สูง ดังนั้นควรดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอิเล็กโตรไลท์อย่าง เพียงพอ

อาหาร ควรให้อาหารที่มีโปรตีนสูง แคลอรี่และวิตามิน อย่าง เพียงพอ 6. ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอทั้งร่างกายและจิตใจ 7. เมื่อไข้สูงควรให้ยาลดไข้ก่อนเมื่อยาเริ่มออกฤทธิ์เหงื่อออก ค่อยเช็ดตัวลดไข้

8. ให้ความช่วยเหลือเมื่อท้องอืดเช่น ให้อาหารที่มีกากใยมาก การดื่มน้ำมากๆ หรือการให้ยาระบาย เป็นต้น เพราะเมื่อ ท้องอืดจะทำให้รู้สึกไม่สุขสบาย ท้องดันกระบังลมขึ้นเบียด ปอด ปอดจะขยายตัวไม่เต็มที่ทำให้หอบเหนื่อยมากขึ้น

การป้องกัน จัดท่าผู้ป่วยที่หมดสติให้ถูกต้องเพื่อป้องกันการสูดสำลัก เช่น การนอนกึ่งตะแคงกึ่งคว่ำในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่ สมองและผู้ป่วยที่ดมยาสลบ หลีกเลี่ยงการให้อาหาร น้ำ ยา ทางปากแก่ผู้ป่วยที่หมดสติ หรือมีปัญหาในการกลืน

3. พลิกตัวให้ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้บ่อยๆ กระตุ้นให้หายใจลึกๆ และไอเป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ รักษาทางเดินหายใจให้โล่ง

5. หลีกเลี่ยงการใช้ยากล่อมประสาท ยาแก้ปวด ยาแก้ไอ มากหรือบ่อยเกินไป จะทำให้กดการหายใจทำให้เสมหะ คั่งค้าง 6. ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อทางระบบทางเ ดินหายใจ

ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจหรือเจาะคอ ต้องป้องกันการ ติดเชื้อที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลโดยใช้หลักปลอดเชื้อ

เกณฑ์การประเมินผล ผู้ป่วยและ / หรือญาติ สามารถบอกพยาธิสภาพของโรค ได้ถูกต้อง ผู้ป่วยและ / หรือญาติ สามารถบอกถึงสาเหตุและสาเหตุส่ง เสริมของโรคอย่างสังเขปได้อย่างถูกต้องอย่างน้อย 4 ข้อ

ผู้ป่วยและ / หรือญาติ สามารถบอกอาการและอาการแสดง ได้อย่างถูกต้องอย่างน้อย 4 ข้อ ผู้ป่วยและ / หรือญาติ สามารถบอกการรักษาพยาบาลได้ อย่างถูกต้องอย่างน้อย 4 ข้อ

ผู้ป่วยและ / หรือญาติ สามารถบอกการป้องกันโรคได้ อย่างถูกต้องอย่างน้อย 4 ข้อ

the end