LCD Monitor. ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● หลักการทำงานของมอนิเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
วงจรสี.
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
Zip Drive.
(Holographic Versatile Disc )
Smart Media Card.
เอ็มโอดิสก์ (MO หรือ Magneto Optical disk)
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Mahidol Witthayanusorn School
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
สายสัญญาณที่ต่อกับเครื่อง LCD Projector
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ (Projector)
Liquid Crystal Display (LCD)
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
Plasma display นางสาวอัจฉรี สุขผ่อง รหัส เทคโนโลยีสารสนเทศ ปี 4.
VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง.
Touch Screen.
การเขียนโปรแกรมบน Android
RS-MMC.
ทฤษฏีสี หลักการใช้สี.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
บาร์โค้ด หรือ รหัสแท่ง เป็นเครื่องหมายแทน ข้อมูลชนิดหนึ่งที่เครื่องจักรอ่านด้วยแสง บาร์โค้ดโดยแรกเริ่มใช้รูปแบบ " บาร์ " หรือ " แท่ง " คือเส้นขนานหลาย.
สี (Color).
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
Principle of Graphic Design
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องโปรเจคเตอร์PROJECTOR
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท Notebook
รู้จักกับโลกของ โฮมเพจ & เว็บไซต์.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
รู้จักกับชนิดของภาพกราฟิกบนเว็บ
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
Computer graphic.
ADSL คืออะไร.
ให้นักเรียนออกแบบงานนำเสนอ เรื่อง กล้องดิจิตอล D-SLR
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
Monitor.
NEW PRODUCTS. SONY Specifications : น้ำหนัก 180 กรัม (6 ออนซ์ ) ขนาด 105x 36x 56 มิลลิเมตร ความละเอียด Super HAD CCD ขนาด 1/2.78 นิ้วที่ความ ละเอียด.
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
เรื่อง ธงประเทศต่างๆ ธงชาติไทย ธงชาติเวียดนาม
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
วิทยาศาสตร์ Next.
อิเล็กทรอนิกส์แบบพิมพ์ได้
แว่นกรองแสง (Light Filter)
วัตถุประสงค์ อธิบายความหมายของการรับเข้าได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์นรับเข้าได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์บันทึกภาพ อธิบายความหมายของการส่งออก อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ส่งออก.
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
รายละเอียดเกี่ยวกับ Notebook ส่วนประกอบ ต่างๆ CPU ซีพียู ที่สร้างมาสำหรับ Notebook โดยเฉพาะ เน้นเรื่องการประหยัดพลังงาน ลด ความร้อนของซีพียู ทำให้อายุการใช้งานนาน.
RAID (Redundant Array of Inexpensive Disks) By Jiraporn konkhayan
บทที่ 2 Input & Output Devices
ใบสำเนางานนำเสนอ:

LCD Monitor

● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● หลักการทำงานของมอนิเตอร์ แบบ LCD ● หลักการทำงานของมอนิเตอร์ แบบ LCD ● เทคโนโลยีที่พัฒนามาใช้กับ LCD ● เทคโนโลยีที่พัฒนามาใช้กับ LCD

ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD จอภาพผลึกเหลว (Liquid crystal display หรือ LCD) เป็น อุปกรณ์จอภาพแบบแบน บาง สร้าง ขึ้นจากพิกเซลสี หรือพิกเซลโมโน โครมจำนวนมาก ที่เรียงอยู่ด้านหน้า ของแหล่งกำเนิดแสง หรือตัวสะท้อน แสง นับเป็นจอภาพที่ได้รับความนิยม มากขึ้นในปัจจุบัน เพราะใช้ กำลังไฟฟ้าน้อยมาก ด้วยเหตุนี้ จึง เหมาะสำหรับการใช้งานที่มี แหล่งจ่ายไฟเป็นแบตเตอรี่ จอภาพผลึกเหลว (Liquid crystal display หรือ LCD) เป็น อุปกรณ์จอภาพแบบแบน บาง สร้าง ขึ้นจากพิกเซลสี หรือพิกเซลโมโน โครมจำนวนมาก ที่เรียงอยู่ด้านหน้า ของแหล่งกำเนิดแสง หรือตัวสะท้อน แสง นับเป็นจอภาพที่ได้รับความนิยม มากขึ้นในปัจจุบัน เพราะใช้ กำลังไฟฟ้าน้อยมาก ด้วยเหตุนี้ จึง เหมาะสำหรับการใช้งานที่มี แหล่งจ่ายไฟเป็นแบตเตอรี่ กลับเมนูหลัก

ประเภทของมอนิเตอร์ แบบ LCD ● Thin Film Transistor (TFT) Active matrix จอภาพสีสดใสมองเห็นจากหลายมุม เนื่องจากให้ความสว่าง และสีสันในอัตราที่สูง มีการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของภาพที่ เร็วขึ้นและมีความคมชัดขึ้น มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า TFT - Thin Film Transistor และเนื่องจาก คุณสมบัติดังกล่าวทำให้ราคาของจะประเภทนี้ ค่อนข้างสูง ● Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN) ● Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN) ด้วย Passive matrix color จอภาพสี ค่อนข้างแห้ง เนื่องจากมีความสว่างน้อย และ สีสันไม่มากนัก และทำให้ไม่สามารถมองจาก มุมมองอื่นได้ มุมมองจะค่อนข้างจำกัดกว่า LCD แบบ TFT เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า DSTN- Dual-Scan Twisted Nematic ซึ่งปัจจุบันจอ LCD ประเภทนี้ไม่ค่อยได้รับความนิยม จึงทำ ให้หาซื้อได้ยากตามท้องตลาด ด้วย Passive matrix color จอภาพสี ค่อนข้างแห้ง เนื่องจากมีความสว่างน้อย และ สีสันไม่มากนัก และทำให้ไม่สามารถมองจาก มุมมองอื่นได้ มุมมองจะค่อนข้างจำกัดกว่า LCD แบบ TFT เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า DSTN- Dual-Scan Twisted Nematic ซึ่งปัจจุบันจอ LCD ประเภทนี้ไม่ค่อยได้รับความนิยม จึงทำ ให้หาซื้อได้ยากตามท้องตลาด กลับเมนูหลัก

หลักการทำงานของมอนิเตอร์แบบ LCD มอนิเตอร์แบบ LCD นั้นจะทำงาน โดยการให้แสงขาว (White light) ผ่าน ตัวแอ็คทีฟ ฟิลเตอร์ (Active Filter) ซึ่งก็ หมายความว่า แม่สีแสง ( สีแดง สีเขียว และ สีน้ำเงิน ) นั้นได้มาจากการกลั่นกรอง แสงขาว มอนิเตอร์แบบ LCD นั้นจะทำงาน โดยการให้แสงขาว (White light) ผ่าน ตัวแอ็คทีฟ ฟิลเตอร์ (Active Filter) ซึ่งก็ หมายความว่า แม่สีแสง ( สีแดง สีเขียว และ สีน้ำเงิน ) นั้นได้มาจากการกลั่นกรอง แสงขาว โดยส่วนใหญ่ผลึกเหลวนั้นจะเป็น สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลเป็นลักษณะ คล้ายๆ กับแท่งไม้ยาวๆ ซึ่งโดยธรรมชาติ แล้วจะมีการจัดเรียงประมาณว่าขนานกัน ไปเรื่อยๆ เป็นไปได้ที่จะทำการควบคุม การจัดเรียง ของโมเลกุลเหล่านี้ด้วยการ ปล่อยให้ผลึกเหลว นั้นไหลไปตามพื้นผิว ที่เป็นร่องๆ ซึ่งถ้าพื้นผิวที่เป็นร่องๆ นี้แต่ ละร่อง ขนานกันอยู่ โมเลกุลก็จะมีการ จัดเรียงแบบขนานกันไปด้วย โดยส่วนใหญ่ผลึกเหลวนั้นจะเป็น สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลเป็นลักษณะ คล้ายๆ กับแท่งไม้ยาวๆ ซึ่งโดยธรรมชาติ แล้วจะมีการจัดเรียงประมาณว่าขนานกัน ไปเรื่อยๆ เป็นไปได้ที่จะทำการควบคุม การจัดเรียง ของโมเลกุลเหล่านี้ด้วยการ ปล่อยให้ผลึกเหลว นั้นไหลไปตามพื้นผิว ที่เป็นร่องๆ ซึ่งถ้าพื้นผิวที่เป็นร่องๆ นี้แต่ ละร่อง ขนานกันอยู่ โมเลกุลก็จะมีการ จัดเรียงแบบขนานกันไปด้วย กลับเมนูหลัก

เทคโนโลยีที่พัฒนามาใช้กับ LCD 1. Passive Matrix หรือที่เรียกว่า Super-Twisted Nematic (STN) เป็น เทคโนโลยีแบบเก่าที่ให้ความคมชัด และความสว่างน้อยกว่า ใช้ในจอ โทรศัพท์มือถือทั่วไปหรือจอ Palm ขาว ดำเป็นส่วนใหญ่ 1. Passive Matrix หรือที่เรียกว่า Super-Twisted Nematic (STN) เป็น เทคโนโลยีแบบเก่าที่ให้ความคมชัด และความสว่างน้อยกว่า ใช้ในจอ โทรศัพท์มือถือทั่วไปหรือจอ Palm ขาว ดำเป็นส่วนใหญ่ 2. Active Matrix หรือที่เรียกว่า Thin Film Transistors (TFT) สามารถ แสดงภาพได้คมชัดและสว่างกว่าแบบ แรก ใช้ในจอมอนิเตอร์หรือโน๊ตบุ๊ก 2. Active Matrix หรือที่เรียกว่า Thin Film Transistors (TFT) สามารถ แสดงภาพได้คมชัดและสว่างกว่าแบบ แรก ใช้ในจอมอนิเตอร์หรือโน๊ตบุ๊ก กลับเมนูหลัก

อ้างอิง %29.html %29.html %29.html %29.html