วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
Leaf Monocots Dicots.
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
ของส่วนประกอบของเซลล์
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
เอกสารเคมี Chemistry Literature
Physiology of Crop Production
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
Cell Specialization.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
BIOL OGY.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
บทที่ 2 ECOSYSTEM ระบบนิเวศ “ECOSYSTEM” หรือ “ECOLOGICAL SYSTEM”
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
Chemical Properties of Grain
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ
ความหลากหลายของพืช.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
ประเภทของวัสดุกรอง Biofilter Media Review
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
อาหารปลอดภัยด้านประมง
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
Pasture and Forage Crops Glossary
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
อาณาจักรรา (Kingdom Fungi)
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เชื้ออะโกรแบคทีเรียม
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา สรีรวิทยาของพืช 1202 320 (Plant Physiology) 20 กรกฎาคม 2552

การอยู่ร่วมกันระหว่างรากพืช กับจุลินทรีย์ในดิน ไมคอไรซา (mycorrhiza) - ราที่อาศัยอยู่ที่รากพืชแบบซิมไบโอซิส - การอยู่ร่วมกันแบบเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน - ราได้รับน้ำตาลจากราก และราช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพ การดูดน้ำและธาตุอาหารแก่พืช

ไมคอไรซา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. เอคโตไมคอไรซา (ectomycorrhiza) รากพืชมีเส้นใยไฮฟีของราหุ้มหนาแน่นคล้ายปลอกหุ้ม และมีเส้นใยแทรกเข้าไปในช่องระหว่างเซลล์จนถึงชั้นคอร์เท็กเกิดเป็นเครือข่ายของเส้นใย เรียกว่า ตาข่ายฮาร์ทิก พบเฉพาะในไม้ยืนต้น

ภาพที่ 1 รากพืชที่มีเอกโตไมคอไรซาอาศัยอยู่ ที่มา: http://ag.arizona.edu/yavapai/graphics/mycorrgraphic.gif ภาพที่ 1 รากพืชที่มีเอกโตไมคอไรซาอาศัยอยู่

2. เอนโดไมคอไรซา (endomicorrhiza) เส้นใยของราไม่หนาแน่นมาก เข้าสู่รากทางขนรากหรือเอพิเดอร์มิสแล้วเข้าสู่ชั้นคอร์เท็ก เอนโดไมคอไรซาจะมีเส้นใยบางส่วนเจริญเข้าไปภายในเซลล์ของคอร์เท็ก สร้าง arbuscules และ vesicles ชนิดที่พบ คือ vasicular-arbuscular mycorrhiza (VAM)

พบโครงสร้าง arbuscular และ vesicles - พบในพืชล้มลุกใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่เฟิร์น ไบรโอไฟท์และไม้ยืนต้นพวกจิมโนสเปิร์ม พบโครงสร้าง arbuscular และ vesicles ภาพที่ 2 รากพืชที่มีเอนโดไมคอไรซาอาศัยอยู่ ที่มา : http://ag.arizona.edu/yavapai/graphics/mycorrgraphic.gif

ประโยชน์ของไมคอไรซา 1. ช่วยให้รากพืชดูดธาตุอาหารโดยเฉพาะฟอสเฟต แอมโมเนีย โพแทสเซียม และไนเตรตได้ดีขึ้น 2. ช่วยถ่ายเทฟอสเฟตให้แก่ราก 3. ช่วยไฮโดรไลซ์สารอินทรีย์ฟอสเฟตในซากพืชซากสัตว์เป็นฟอสเฟตอิออน

กลไกการถ่ายเทอาหารเข้าสู่รากยังไม่ทราบแน่ชัด - ราเอคโตไมคอไรซา : อาจเกิดจากฟอสเฟตรั่วไหลออกจากตาข่ายฮาร์ทิกของรากเอคโตไมคอไรซา เข้าสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์แล้วถูกดูดเข้าสู่เซลล์คอร์เท็กของรากผ่านพลาสมาเมมเบรน

ส่วนในราชนิด VAM : อาจเกิดการถ่ายเทธาตุอาหาร ของ arbuscules จากเส้นใยของราผ่านพลาสมา เมมเบรนและผนังเซลล์เข้าสู่พลาสมาเมมเบรน ของคอร์เท็ก หรือ ธาตุอาหารที่สะสมไว้ใน arbuscules อาจถูกดูดเข้าสู่เซลล์คอร์เท็กหลังจากที่ arbuscules เสื่อมสลาย

ปัจจัยที่ควบคุมการสร้างราไมคอไรซาของพืช ความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารในดิน ดินที่ขาดแคลนฟอสเฟตจะชักนำให้เกิดการสร้าง ไมคอไรซามากกว่าดินที่มีฟอสเฟตอุดมสมบูรณ์

การอยู่ร่วมกันแบบซิมไบโอซิสระหว่างพืชกับแบคทีเรียตรึงไนโตรเจน - การอยู่ร่วมกันแบบซิมไบโอซิสระหว่างพืช ตระกูลถั่ว กับแบคทีเรียสกุล Rhizobium - แบคทีเรียอาศัยอยู่ในปมราก (root nodule) ของถั่ว

แบคทีเรียที่อาศัยในปมรากถั่วมี 3 สกุล คือ - Rhizobium - Bradyrhizobium - Azorhizobium - แต่ละชนิดจะอาศัยกับพืชตระกูลถั่วที่จำเพาะเจาะจงเพียงชนิดเดียวหรือ 2-3 ชนิดเท่านั้น

- นอกจากพืชตระกูลถั่ว Parasponia (วงศ์Ulmaceae) เป็นพืชชนิดเดียวที่แบคทีเรียสามารถอาศัยอยู่ได้ - ส่วนต้นอัลดอร์, ต้น mountain lilac และ ต้นสนปฏิพัทธ์ รากสามารถสร้างปมและเป็นที่อาศัยของ Frankia ซึ่งเป็นแบคทีเรียในกลุ่ม Actinomycetes

- ในนาข้าวของไทยและประเทศเขตร้อน พบซิมไบโอซิส ระหว่าง แหนแดง (Azolla) ซึ่งเป็นเฟินน้ำกับ Anabaena ซึ่งเป็นไซยาโนแบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจน - โดย Anabaena อาศัยอยู่ในช่องใต้ใบของแหนแดงสามารถตรึงไนโตรเจนให้แก่นาข้าวประมาณ 8 กก./ไร่

ตารางที่ 1 การอยู่ร่วมกันแบบซิมไบโอซิสระหว่างพืชกับแบคทีเรียที่ตรึง N พืชอาศัย Azorhizobium Sesbania Bradyrhizobium japonicum ถั่วเหลือง (Glycine) Bradyrhizobium arachis ถั่วลิสง (Arachis) Rhizobium meliloti Alfalfa (Medicago) Rhizobium leguminosarum Sweet pea, lentil, Pisum, Vicia Frankia Casuarina, Alnus, Myrica gale Anabaena Azolla

ขั้นตอนการบุกรุกรากถั่วของไรโซมเบียม - การสร้างปมรากถั่วเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนประกอบด้วยหลายขั้นตอน เกี่ยวข้องกับการแสดงออกของยีนที่จำเพาะเจาะจงทั้งของแบคทีเรียและต้นถั่ว - ในดินที่มีรากพืชตระกูลถั่ว (เฉพาะเจาะจง) ไรโซเบียม ถูกชักนำให้เคลื่อนที่เข้าหาพื้นผิวของราก โดยการกระตุ้นของสารเคมีพวก flavonoids ที่รากถั่วปลดปล่อยสู่ดิน

- หลังจากที่ไรโซเบียมเกาะและเพิ่มจำนวนบนพื้นผิวรากถั่ว จะชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเนื้อเยื่อของราก คือ มีการสร้างขนรากมากขึ้น รากอ้วนและสั้น ปลายรากม้วนงอ และสร้างเอนไซม์ย่อยผนังเซลล์ และเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ โดยเซลล์ขนรากจะสร้างหลอดเมมเบรนที่เรียกว่า “infection thread” นำไรโซเบียมเข้าไปถึงคอร์เท็ก

- จากนั้นรากจะถูกกระตุ้นให้มีการแบ่งเซลล์จนกลายเป็นปม ไรโซเบียมจะเข้าไปอยู่ภายในถุงเมมเบรนภายในเซลล์ของปมรากถั่ว - แบคทีเรียที่อยู่ในเซลล์จะมีรูปร่างแตกต่างไปจากเดิม เรียกว่า แบคทีรอยด์ (Baceriods)

ภาพที่ 3 ขั้นตอนการบุกรุกของไรโซเบียมและการสร้างปมรากถั่ว ที่มา : http://4e.plantphys.net/images/ch12/wt1201a_s.png

ภาพที่ 4 ปมรากของพืชตระกูลถั่ว http://www.bio.usyd.edu.au/DavidDay/root_nodules.jpg

แบคทีรอยด์มีเอนไซม์ไนโตรจีเนส (nitrogenase) ทำหน้าที่ คะตะไลซ์ปฏิกิริยาการตรึงกาซไนโตรเจนให้เป็นแอมโมเนีย ดังนี้ N2 + 8è + 8H+ + 16 ATP 2NH3 + H2+16ADP+16Pi

ภาพที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างการนำผลผลิตจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบไปใช้ในการหายใจและการตรึงไนโตรเจนของแบคทีเรีย และการนำแอมโมเนียไปสร้างสารประกอบไนโตรเจนของพืช