Decision Tree Analysis

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
การเขียนผังงาน.
Decision Tree.
บทที่ 4 ทฤษฎีเกม Game Theory
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
อสมการ.
Algorithms.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Object-Oriented Analysis and Design
การจำลองความคิด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
Flowchart Drawing By DIA
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
Flow Chart INT1103 Computer Programming
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนข้อเสนอโครงการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
นางสาวดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง จ.สุพรรณบุรี
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การตัดสินใจแบบกิ่งก้านสาขา (Decision tree)
adversarial Search Techniques
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
หลักการเขียนโครงการ.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ขั้นตอนการประเมินสมรรถนะและการวางแผนพัฒนารายบุคคล
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
Problem tree (ต้นไม้ปัญหา) โดย นางศิริวรรณ หวังดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Decision Tree Analysis

Decision Tree วิธีนี้เป็นการใช้ผังต้นไม้ในการเขียนอธิบายการประมวลผลโดยจำลองกิ่งก้านสาขาของต้นไม้เป็นหลักโดยแตกจากรากทางซ้ายมือ แตกเป็นกิ่งอยู่ทางขวามือ แตกกิ่งไปเรื่อย ๆ จนครบเงื่อนไขทั้งหมดและกิ่งสุดท้ายของทุกกิ่งคือกิจกรรมที่ต้องกระทำ เมื่อเป็นตามเงื่อนไขนั้น

กระบวนการกลั่นกรองประเด็นปัญหา

ขั้นตอนการสร้างผังต้นไม้ เขียนเริ่มต้นจากรากแตกกิ่งไปตามจำนวนเงื่อนไขที่เป็นไปตามกฎโดยพิจารณาเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในการตัดสินใจเริ่มแรก แตกกิ่งของเงื่อนไขแรกนั้นเป็นเงื่อนไขถัดไป แตกกิ่งของเงื่อนไขต่อไป จนกระทั่งหมดเงื่อนไขที่เกิดขึ้น เขียนกิ่งของกิจกรรมที่จะต้องกระทำเมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขจากรากไปปลายกิ่งเงื่อนไขแต่ละกิ่ง

หลักการสร้างผังต้นไม้

การวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา นิยมใช้เมื่อมีเหตุการณ์ตั้งแต่ 2 เหตุการณ์ขึ้นไปที่เกิดต่อเนื่องกัน โดยผู้ตัดสินใจมีทางเลือกหลายทาง แต่ไม่ทราบผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือก จะบอกทางเลือก(วิธีการตัดสินใจ ความน่าจะเป็นของแต่ละทางเลือก รวมทั้งบอกค่าใช้จ่ายหรือสิ่งที่ต้องเสียไป เพื่อให้ได้ซึ่งผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือก) เมื่อปัญหาคลี่คลายหรือเวลาผ่านไป อาจจะพบทางเลือกใหม่ๆ หรือได้ผลลัพธ์/ผลตอบแทนในขั้นสุดท้าย และทำการตัดสินใจคัดสรรทางเลือกที่คาดว่าจะได้ผลตอบแทนที่ดีที่สุด

ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา ระบุปัญหา ร่างโครงสร้างการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา ระบุความน่าจะเป็นของแต่ละทางเลือก ประเมินผลตอบแทนที่คาดหวังของแต่ละทางเลือก วิเคราะห์ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ด้วยการคำนวณย้อนหลังไปจากทางขวาสุดของกิ่งก้านมาทางซ้ายสุด

รูปแบบของแผนภาพ มีสัญลักษณ์ที่สำคัญดังนี้ เส้นตรง แสดงถึง ทางเลือกหรือสภาวการณ์ที่เกิดขึ้น สี่เหลี่ยม แสดงถึง จุดที่ต้องมีการตัดสินใจ เส้นตรงหลัง สี่เหลี่ยม หมายถึงทางเลือกที่ใช้ตัดสินใจ วงกลม แสดงถึง จุดที่ระบุว่ามีสภาวการณ์ต่างๆเกิดขึ้น เส้นตรงหลังวงกลม คือ สภาวการณ์ที่เกิดขึ้น

ตัวอย่างของแผนผังการตัดสินใจ สภาวการณ์ที่ 1 ผลตอบแทนที่ 1 ทางเลือกที่ 1 สภาวการณ์ที่ 2 ผลตอบแทนที่ 2 สภาวการณ์ที่ 3 ผลตอบแทนที่ 3 ทางเลือกที่ 2 สภาวการณ์ที่ 4 ผลตอบแทนที่ 4 สภาวการณ์ที่ 5 ผลตอบแทนที่ 5 ทางเลือกที่ 3 สภาวการณ์ที่ 6 ผลตอบแทนที่ 6 จะเห็นว่าทุกครั้ง หลังจุดตัดสินใจ จะเป็นทางเลือกต่างๆ ในขณะที่หลังเครื่องหมาย จะเป็นสภาวการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น

ตัวอย่างการเขียนผังต้นไม้ ได้รับ 5% ของยอดขาย ได้รับจดหมายเชิดชูเกียรติ ได้เลื่อนตำแหน่ง ยอดขาย > 50,000 บาท ยอดขายทั้งแผนก > 1 ล้านบาท ได้รับ 5% ของยอดขาย ได้รับจดหมายเชิดชูเกียรติ ยอดขาย <= 50,000 บาท ได้รับ 2% ของยอดขาย ได้รับจดหมายเชิดชูเกียรติ ยอดขาย > 50,000 บาท ยอดขายทั้งแผนก <= 1 ล้านบาท ยอดขาย <= 50,000 บาท

ข้อสังเกตบางประการในการเขียนแขนงการตัดสินใจ สร้างจากด้านซ้ายไปขวา ทางเลือกต้องมากกว่า 1ทาง สภาวการณ์ต้องเกิดอย่างน้อย 1 สภาวการณ์

ผังต้นไม้ (Decision Tree)

ผังต้นไม้ (Decision Tree)

ผังต้นไม้ (Decision Tree)

จะเลือกวิธีผังต้นไม้ (Decision Tree) เมื่อ การเกิดเงื่อนไขต่าง ๆ และการกระทำกิจกรรมเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง กรณีที่มีเงือนไขหลากหลายแบบ ในการแตกกิ่งที่แตกต่างกันไป โดยเงื่อนไขไม่จำกัด

ตัวอย่างการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา สมมติว่า เทศบาลแห่งหนึ่งมีโครงการก่อสร้างตลาดแห่งใหม่เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนขณะเศรษฐกิจเติบโต โดยเทศบาลให้มีการศึกษาความน่าจะเป็นรวมทั้งค่าใช่จ่ายในการก่อสร้างจากทางเลือก 3 ทาง คือ สร้างตลาดขนาดใหญ่ สร้างตลาดขนาดกลางและไม่ก่อสร้างตลาดเลย ปรากฏผลการศึกษาดังนี้ ทางเลือก/ความน่าจะเป็น ปัจจัยทางบวก (บาท) ปัจจัยทางลบ (บาท) ตลาดขนาดใหญ่ (A1) 200,000 -180,000 ตลาดขนาดกลาง (A2) 100,000 -20,000 ไม่ก่อสร้างตลาดเลย (A3) ความน่าจะเป็น 0.5

ทำการคำนวณย้อนกลับจะได้ผลตอบแทนภายใต้ความแน่นอน คือ + 0.5 200,000 ตลาดขนาดใหญ่ A1 - 0.5 - 180,000 + 0.5 100,000 ตลาดขนาดกลาง A2 - 0.5 - 20,000 ไม่สร้างตลาด A3 ทำการคำนวณย้อนกลับจะได้ผลตอบแทนภายใต้ความแน่นอน คือ A1 = (200,000) (0.5) + (-180,000) (0.5) = 10,000 บาท A2 = (100,000) (0.5) + (-20,000) (0.5) = 40,000 บาท A3 = 0(0) + 0(0) = 0 บาท จะเห็นว่า ด้วยการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขาซึ่งคำนวณภายใต้หลักการของความน่าจะเป็น สรุปได้ว่า เทศบาลควรสร้างตลาดขนาดกลาง