ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
Advertisements

โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เรื่อง ระบบสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Enterprise Network Design
Network Model แบบจำลอง OSI
Network Model แบบจำลอง OSI
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
Telecom. & Data Communications
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
ARP (Address Resolution Protocol)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
องค์ประกอบของระบบ Internet
เครือข่าย LAN แบบ IEEE 802 IEEE 802.X Network
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
MAC Address. Short for Media Access Control address, a hardware address that uniquely identifies each node of a network. In IEEE 802 networks, the Data.
Data Communication Chapter 2 OSI Model.
OSI MODEL.
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
TCP/IP.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
CSC431 Computer Network System
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
-เครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - ไฟรว์วอลล์
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
บทที่ ๖ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เนต ( Computer Networks and the Internet ) ๑. ๑ อินเตอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติ ที่มีสาย ตรงเชื่อมต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงาน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed เครือข่ายระยะไกล Wide Area.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
Network Computer Made by Godsaider. สถาปัตยกรรมเครือข่าย มนุษย์ติดต่อสื่อสารกันได้นั้นเพราะใช้ภาษา เดียวกันในการติดต่อพูดคุยแต่ถ้าพูดกันคนละภาษาก็จะ ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ได้ประสิทธิภาพหรือไม่เข้าใจ.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
แบบจำลอง OSI Model.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making.
OSI 7 LAYER.
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
แบบจำลองเครือข่าย (Network Models)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ OSI Model

OSI model เนื่องจากอุปกรณ์เครือข่ายต่าง ๆ ผลิตจากหลายบริษัท เนื่องจากอุปกรณ์เครือข่ายต่าง ๆ ผลิตจากหลายบริษัท จึงมักประสบปัญหาความเข้ากันไม่ได้ ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหา ดังกล่าว ISO (International Standards Organization) ซึ่งเป็นองค์กรกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศจึงกำหนด รูปแบบจำลอง OSI (Open System Interconnection) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานให้ระบบเครือข่าย สามารถสื่อสารใน รูปแบบเดียวกันได้

OSI model ISO ทำการแบ่ง OSI model ออกเป็น 7 ระดับ (Layer) Application Layer Layer 6 Presentation Layer Layer 5 Session Layer Layer 4 Transport Layer Layer 3 Network Layer Layer 2 Data-Link Layer Layer 1 Physical Layer

Physical Layer กำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะทางไฟฟ้า และทางกายภาพ ของการเชื่อมต่อที่ทำให้เกิดเป็นเครือข่าย เช่นแรงดันไฟฟ้า ช่วงเวลาการส่งข้อมูล ข้อต่อ และสายเคเบิลเป็นต้น Physical Layer ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายข้อมูล ของ Layer ที่สูงกว่าทั้งหมด หรือ กล่าวได้ว่า Physical - Layer คือ ผู้ขนส่ง โดยสิ่งที่ส่งจะอยู่ใน Layer ที่สูงกว่า

Physical Layer Physical Layer นับเป็นลำดับชั้น ของ Hardware ลำดับชั้นที่เหลือ จะเป็น Software ที่สัมพันธ์กับชั้นนี้

Data Link Layer -Media Access Control (MAC) แบ่งออกเป็น 2 ชั้นย่อย ได้แก่ -Media Access Control (MAC) -Logical Link Control (LLC) -MAC จัดการเกี่ยวกับการเข้าถึงเครือข่าย ตลอดจน การควบคุมเครือข่าย -LLC ทำงานอยู่เหนือ MAC ทำหน้าที่เกี่ยวกับการรับ และการส่งข้อมูล

Data Link Layer กล่าวโดยรวมแล้ว Data-Link Layer จะเกี่ยวข้อง กับการรวมข้อมูลเป็น Data Frame หรือ Packet ซึ่งมีการระบุจุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด และการตรวจสอบ ความผิดพลาดของข้อมูลในระหว่างการรับ-ส่งข้อมูล Data-Link Layer จัดเป็น Layer ที่มีความซับซ้อนที่สุด

Network Layer ทำหน้าที่จัดเส้นทางของข้อมูล ที่อาจต้องเดินทางผ่าน ระบบเครือข่ายในหลาย Segment และเป็นผู้ตัดสินใจว่า เส้นทางใดควรเป็นเส้นทางที่จะส่งข้อมูล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ สภาพเครือข่าย ความสำคัญของการบริการ และปัจจัยอื่น Network Layer จะรับผิดชอบในส่วนของการกำหนด Address และการส่งข้อมูลแบบ “จากต้นถึงปลายทาง” (End-to-End)

Network Layer ในการสื่อสารข้อมูลที่สั้นที่สุด และ ในการสื่อสารข้อมูลที่สั้นที่สุด และ ใช้เวลาในการสื่อสารน้อยที่สุด

Transport Layer ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมาจาก Session Layer ว่าไปถึงผู้รับอย่างถูกต้องหรือไม่ หากเครือข่ายเสียหายจะ เลือกเส้นทางอื่นที่สื่อสารได้ หรือ จัดเก็บข้อมูลเพื่อรอส่ง ให้แก่ Network Layer เมื่อเครือข่ายสามารถใช้งานได้ Transport Layer เป็นการสื่อสาร ระหว่างต้นทาง - ปลายทาง หรือ Computer to Computer

Session Layer ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ อื่น ๆ เช่น ทำการ Log in ไปยังเครื่องที่อยู่ห่างไกล หรือ Remote system การส่งถ่ายแฟ้มข้อมูล (File Transfer) และการสนทนา (Dialogue) ซึ่งสามารถส่งได้ทั้งในแบบ Half และ Full Duplex ในกรณี Half Duplex จะต้องจัด ทิศทาง และเวลาว่าใครจะเป็นผู้รับ - ผู้ส่ง ก่อน หรือ หลัง

ในบางเครือข่ายจะจัดให้ Session และ Transport Layer Session Layer ในบางเครือข่ายจะจัดให้ Session และ Transport Layer เป็น Layer เดียวกัน

Presentation Layer ทำหน้าที่เกี่ยวกับ กราฟิกส์ ชุดตัวอักษร รหัสควบคุม อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ ฯลฯ นอกจากนั้น ยังรวมถึง การจัดรูปแบบของจอภาพ การเข้ารหัสข้อมูล การลดขนาดข้อมูล (Data Compression) การจัดรูปแบบ ของแฟ้มข้อมูล เป็นต้น Presentation Layer จะสนใจเรื่องความถูกต้อง ของข้อมูลในระดับ Syntax ของข้อมูลที่ส่งมา

Application Layer เป็นส่วนของระบบปฏิบัติการเครือข่าย ทำหน้าที่ ให้บริการแก่ผู้ใช้ เช่น การแบ่งปันแฟ้มข้อมูล-เครื่องพิมพ์ E-mail เป็นต้น Application ในชั้นนี้สามารถนำเข้า หรือ ออกจากระบบเครือข่ายได้โดยไม่ต้องสนใจว่าจะมีขั้นตอน การทำงานอย่างไร เพราะจะมี Presentation Layer ทำ หน้าที่แทนอยู่แล้ว และ Application Layer นี้ จะติดต่อ โดยตรงกับ Presentation Layer เท่านั้น

Application Layer -เป็นส่วนที่มองเห็นโดยผู้ใช้ -Application Program ต่าง ๆ เช่น dBASE LOTUS 1-2-3 ฯลฯ ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ Layer นี้

การสื่อสารระหว่าง Layer Protocol 7 Layer 7 Layer 7 Protocol 6 Host A. Layer 6 Layer 6 Host B. Protocol 5 Layer 5 Layer 5 Protocol 4 Layer 4 Layer 4 Protocol 3 Layer 3 Layer 3 Protocol 2 Layer 2 Layer 2 Media Protocol 1 Layer 1 Layer 1

การสื่อสารระหว่าง Layer Layer ที่สูงกว่าจะส่งข้อมูลมายัง Layer ที่ต่ำกว่า จนถึง Layer ชั้นต่ำสุด ซึ่งเป็นตัวกลาง เช่น สายสัญญาน ที่จะทำการส่งข้อมูลจริง ๆ ไปยังคอมพิวเตอร์อื่น แล้วส่ง ข้อมูลย้อนขึ้นไปตามลำดับชั้น ซึ่งถือเป็นการสื่อสารจริง (Actual communication) แต่โปรแกรมในแต่ละ Layer จะรับรู้เสมือนว่าเป็นการสื่อสารระหว่าง Layer เดียวกัน (Virtual communication) ระหว่างผู้รับ และผู้ส่ง

การสื่อสารระหว่าง Layer ผมรักคุณ Virtual comm. หว่อ อ้าย หนี่ I love you. Virtual comm. Actual comm.

การสื่อสารระหว่าง Layer คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะสามารถทำการ สื่อสารกันได้ Protocol ในแต่ละ Layer ของ แต่ละเครื่องต้องเป็น Protocol เดียวกัน ถ้าใช้ Protocol ต่างกัน จะต้องมี เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือ Software ทำหน้าที่แปลง Protocol ให้ มีรูปแบบเดียวกัน จึงจะสื่อสารกันได้

การสื่อสารระหว่าง Layer 7 - Application ดำเนินการโดย ผู้ใช้ เครือข่าย ผู้ใช้ การติอต่อ เครื่องต่อเครื่อง การเชื่อมโยง ต้นทาง-ปลายทาง 6 - Presentation 5 - Session 4 - Transport 3 - Network 2 - Data Link 1 - Physical