ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมการอบรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ แมลงที่สำคัญทางการแพทย์
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
รูปร่างลักษณะและชีวประวัติของยุง
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
BIO-ECOLOGY 2.
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
ไข้เลือดออก ( Denque hemorrhagic fever )
ใบ Leaf or Leaves.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
whey เวย์ : casein เคซีน
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
( วงจรชีวิตและชีวนิสัย )
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
การเลี้ยงเป็ด รูปแบบการเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
วิวัฒนาการของ แมลงปอ.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
EVOLUTION OF FROGS..
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
กินตามกรุ๊ปเลือด.
Nipah virus.
863封面 ทองคำ เขียว.
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมการอบรม “ การพ่นและการใช้สารเคมี ในการควบคุมไข้มาลาเรีย “ ด้วยความยินดียิ่ง

กีฏวิทยามาลาเรีย (Malaria Entomology)

ยุงเชื่อว่ามีวิวัฒนาการมานานกว่า 170 ล้านปี ในระหว่างยุคของไดโนเสาร์ (206-135 ล้านปี) มีขนาดใหญ่กว่ายุงในปัจจุบัน 3 เท่า

วิ วัฒนาการของยุงส่งผลให้ มียุงมากกว่า 3,000 ชนิด และแต่ละปีมีการค้นพบเพิ่มขึ้นอีกราวๆ 20 สายพันธุ์ วิ ยุงมีขนาดเล็ก ส่วนใหญ่เล็กกว่า 15 มม. น้ำหนักยุงอยู่ระหว่าง 2.0-2.5 มก ยุงบินได้เร็วประมาณ 1.5-2.5 กม/ชม

ยุง เคลื่อนตัวได้ว่องไว ด้วยปีกที่สามารถกระพือได้เร็วถึง 600 ครั้งต่อวินาที มากกว่านก humming bird ถึง 10 เท่า นี่คือ ต้นเหตุของเสียงหึ่งๆ ที่เรามักได้ยินเมื่อยุงบินผ่านเราไป

ยุง ทุกตัวต้องการน้ำหวานจากพืช เพื่อการ ยังชีพ แต่ยุงเพศเมียเท่านั้นที่ กระหาย เลือด ด้วยเหตุผลในการขยาย พันธุ์ เพราะเลือดคือแหล่งโปรตีน สำหรับการเจริญเติบโตของไข่

ยุงตัวเมียจะพยายามดื่มเลือด ให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ ระหว่างดื่มกิน มันจะขับน้ำที่ไม่ต้องการออกมา ด้วย การปล่อยหยดน้ำเล็กๆ เพื่อสร้างพื้นที่ให้โปรตีนเพิ่มมากขึ้น

การเลือกเหยื่อ ( host selection ) เป็นปัจจัยกำหนดบทบาทของยุงพาหะ --Anthropophagic ชอบเลือดคนละสัตว์ --Zoophilic ชอบเลือดสัตว์ --Ornithophilic ชอบเลือดคน

Culex pipiens ในเขตอบอุ่นเหนือเป็นพาหะนำ West Nile virus และ Coquillettidia metallica ในทวีปอัฟริกาชอบกินเลือดนก Cx. tritaeniorhynchus พาหะนำไข้สมองอักเสบชอบกินเลือดหมูและวัวควาย Aedes aegypti ยุงลายบ้านชอบกินเลือดคน

แหล่งอาหารยุง ปลาตีน mudskippers

บินแบบสุ่ม (random flight) ขึ้นอยู่กับความ เร็ว และทิศทางของลม บินทวนลม (oriented upwind flight) ขึ้นอยู่กับสารล่อที่ขับออกมาจากเหยื่อ

ยุงไม่สามารถตรวจหาเลือดภายในตัวเหยื่อในระยะไกลได้ ดังนั้นยุงจึงวิวัฒนาการความ สามารถในการตามหาเหยื่อจาก สารที่ขับออกมาจากเหยื่อที่มีเลือด ไคโรโมน kairomone

ลมหายใจออกของเราคาร์บอนไดออกไซด์ ความเข้มข้นของ CO2 ที่เพิ่มขึ้นเพียง 0.01% กระตุ้นต่อมตรวจจับ CO2 บนหนวดยุง และถ้าเพิ่มถึง 0.03% จะมีผลต่อพฤติกรรมของยุง โดยเฉพาะการเลือกเหยื่อ (host preference) สารเคมีที่ขับออกมากับเหงื่อเช่น lactic acid, acetone, octenol เสริมฤทธิ์ของ CO2

ดวงตา (eye) ขนาดใหญ่ที่มีเลนส์ขนาดจิ๋วนับร้อย ยุงมองหาเหยื่อ ด้วยระบบตรวจจับอันเยี่ยมยอดประกอบด้วย ดวงตา (eye) ขนาดใหญ่ที่มีเลนส์ขนาดจิ๋วนับร้อย งวง (palpi) เป็นเซ็นเซอร์ระยะสั้น คล้ายๆ กับจมูกและ เสาอากาศ (antennae) เป็นเซ็นเซอร์ระยะไกล สามารถ ตรวจจับความร้อน, CO2 รวมทั้ง lactic acid ที่ขับมาจาก ผิวหนังของเราและสัตว์อื่นๆ

ระยะตรวจจับ 25-35 เมตร

ถอนปากออกเร็ว .... เธอดูดโดนเส้นเลือดใหญ่เข้าแล้ว .... เจิดสุดา !!! ถอนปากออกเร็ว .... เธอดูดโดนเส้นเลือดใหญ่เข้าแล้ว ....

แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงก้นปล่อง An. dirus An. aconitus An. sundaicus An. sundic An. maculatus and An. Minimus

ไข้มาลาเรีย Malaria fever

วงจรชีวิตไข้มาลาเรีย

การเจริญของเชื้อมาลาเรียในยุง เมื่อยุงก้นปล่องตัวเมียกัดคนที่มีเชื้อมาลาเรียระยะแกมีโตซัยท์ในกระแสเลือด เชื้อเหล่านี้จะผสมพันธุ์กันเป็นไซโกต (zygote) เจริญเป็นเชื้อมาลาเรียระยะโอโอซิสต์ฝังตัวที่กระเพาะยุง แล้วแบ่งตัวเป็นเชื้อมาลาเรียระยะสปอโรซอยต์ไปยังต่อมน้ำลาย เพื่อรอการกัดของยุงอีกครั้ง

เมื่อยุงก้นปล่องตัวเมียซึ่งมีเชื้อมาลาเรียกัดคน ยุงจะปล่อยเชื้อมาลาเรียระยะสปอโรซอยต์ จากต่อมน้ำลายเข้าสู่กระแสเลือดของคน จากนั้นเชื้อจะเดินทางไปที่ตับ และเกิดการแบ่งเซลแบบไม่อาศัยเพศ ทำให้ได้เชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์ (merozoite) นับพันตัว ต่อจากนั้นเซลตับจะโตและแตกออก ปล่อยเชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์ออกมาในกระแสเลือด เข้าเม็ดเลือดแดง และเจริญเป็นเชื้อมาลาเรียระยะโทรโฟซอยต์ (trophozoite) และแบ่งตัวอีกครั้งเป็นเชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์ 6-30 ตัว เมื่อเม็ดเลือดแดงแตก เชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์จะเดินทางไปยังเม็ดเลือดแดงอื่น แล้วเจริญแบ่งตัววนเวียนอยู่เช่นนี้ เชื้อมาลาเรียระยะเมโรซอยต์บางตัว จะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเชื้อมาลาเรียระยะมีเพศ หรือเรียกว่าแกมีโตซัยท์ (gametocyte) โดยมีทั้งเพศผู้ และเพศเมีย

คำถาม: สมชาย มีเชื้อระยะแกมีโตซัยท์ (gametocyte) ในร่างกาย เข้ามาพักในหมู่บ้าน ทุ่งหมาเมิน ในวันที่ 19 ก.ค.55 ในหมู่บ้าน ทุ่งหมาเมิน มียุงก้นปล่องที่เป็นพาหะ อยู่ในหมู่บ้านนี้ด้วย เหตุการณ์นี้คาดว่าต้องมีผู้ป่วยเกิดขึ้น เป็นรายที่ 2 ท่านคิดว่าต้องออกเจาะโลหิต ค้นหาผู้ป่วย ในช่วงใด