สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
VDO conference dengue 1 July 2013.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ประเด็นการตรวจราชการ
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
ตัวอย่างการสอบสวนมือ เท้า ปาก และ EV71
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
แนวทางการเฝ้าระวัง (Chikungunya fever) ในสถาบันการศึกษาสังกัดสถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุข กลุ่มวิจัยและพัฒนานักระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข การเฝ้าระวังและสอบสวนอาการภายหลังได้รับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ADVERSE EVENTS FOLLOWING IMMUNIZATION (AEFI) SURVEILLANCE AND INVESTIGATION สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

อัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ หลังได้รับวัคซีน อัตราการเกิด AEFI (1: # dose) BCG 1:1000 – 1:50000 OPV 1:750000 (dose แรก) 1: 2-3 ล้าน dose Measles 1:1 ล้าน DTP 1:750000 Barlow WE, Davis RL, Glasser JW, et al. N Engl J Med 2001;345.

กลุ่มที่ได้รับวัคซีน อาการไม่รุนแรง อาการรุนแรง

การเฝ้าระวังและการสอบสวนอาการ ภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (AEFI)

สาเหตุของการเกิดอาการภายหลังได้รับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค(AEFI) ความผิดพลาดด้านการบริหารจัดการวัคซีน (Programmatic error) AEFI วัคซีน (Vaccine reaction) เหตุบังเอิญ/เหตุพ้อง (Coincidental event) ไม่ทราบสาเหตุ (Unknown)

เฝ้าระวังผู้ป่วย AEFI เพื่อ...... ค้นหาผู้ป่วย และรายงานความผิดปกติที่เกิดขึ้นหลังได้รับวัคซีน แต่ละชนิดและรุ่นที่ผลิตนั้นๆ ตรวจสอบยืนยันสาเหตุ นำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ตรงกับสาเหตุ ประกันความมั่นใจของประชาชนและประโยชน์ ระยะยาวจากบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กำกับติดตามความปลอดภัยด้านวัคซีนและ งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

1. นิยามการรายงานผู้ป่วย AEFI ผู้ป่วยที่มีอาการหรือมีความผิดปกติที่เกิดขึ้นภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ครั้งสุดท้าย ภายใน 4 สัปดาห์

อาการหรือความผิดปกติ 1. เสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน 2. อาการทางระบบประสาททุกชนิด (Neurological syndrome) เช่น ชัก กล้ามเนื้ออ่อนแรง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ 3. อาการแพ้รุนแรง เช่น Anaphylaxis, Severe allergic reaction 4. อาการติดเชื้อในกระแสโลหิต 5. อาการไข้สูงและบวมแดงร้อนบริเวณที่ฉีดมากกว่า 3 วัน

อาการหรือความผิดปกติ 6. ผู้ป่วยที่ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล 7. ภาวะหรือเหตุการณ์อื่นๆ ที่สงสัยว่าอาจเกี่ยวข้องกับการ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 7.1 อาการที่ไม่รุนแรง เช่น ไข้ตั้งแต่ 38.5 oC กรีดร้องนาน 7.2 พบผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อนภายหลังได้รับการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค (Cluster)

2. การแจ้งผู้ป่วย AEFI Well baby clinic ผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยา แจ้งทันที Well baby clinic OPD หรือ IPD หรือ ERคัดกรองประวัติวัคซีน แจ้งทันที ผู้ป่วย ***โดยไม่ต้องคำนึงว่ามีสาเหตุมาจากวัคซีนจริงหรือไม่***

3. การรายงานผู้ป่วย AEFI SRRT สอบสวนโรค รายงาน ภายใน 24 ชม. ผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือ กองควบคุมโรค สำนักอนามัย กทม. สำนัก ระบาดวิทยา รายงานภายใน 24 ชม.

โครงสร้างและการไหลเวียนข้อมูล AEFI กระทรวงสาธารณสุข องค์การอนามัยโลก องค์กรต่างประเทศอื่นๆ กรมควบคุมโรค สำนักโรคติดต่อทั่วไป (EPI) (Immunization) สำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (Regulation, Licencing) สำนักระบาดวิทยา (เฝ้าระวัง AEFI) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (lot release, vaccine lab testing) สำนักงานป้องกันควบคุมโรค(นิเทศ กำกับติตาม) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 75 จังหวัด หรือ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ข้อมูลรายงานผู้ป่วย ข้อมูลข่าวสาร สถานีอนามัย โรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข

การรายงาน AEFI มายังสำนักระบาดวิทยา โทรศัพท์ 0-2590-1882, 0-2590-1795 Fax 0-2591-8579 Email outbreak@health.moph.go.th

การสอบสวนอาการ ภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (AEFI Investigation)

เกิดอาการอะไร หลังวัคซีนอะไร ♥ เสียชีวิต ♥ ผู้ป่วยใน เฉพาะที่สงสัยว่าจะเกี่ยวข้องกับวัคซีน หรือการบริหารจัดการวัคซีน ♥ เป็นกลุ่มก้อน (cluster) ♥ ประชาชนสงสัยว่าจะเกี่ยวข้องกับวัคซีน สอบสวนเบื้องต้นผู้ป่วยAEFI ทุกราย บันทึกข้อมูลลงในแบบ AEFI 1 เกิดอาการอะไร หลังวัคซีนอะไร สอบสวนรายละเอียดเพิ่ม บันทึกข้อมูลลงในแบบ AEFI 2

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI ข้อมูลวัคซีน ข้อมูลผู้ป่วย: ข้อมูลทั่วไป, ข้อมูลการเจ็บป่วย การค้นหาผู้ป่วย AEFI เพิ่ม ข้อมูลบริหาร จัดการวัคซีน การ พิสูจน์ศพ การเก็บวัคซีน ส่งตรวจ ผู้ป่วย AEFI

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI ข้อมูลผู้ป่วย ข้อมูลทั่วไป - ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ขณะป่วย - ชื่อ นามสกุล ผู้ปกครอง เบอร์โทร / ที่อยู่ที่ติดต่อได้ - เพศ อายุ - (นักเรียน) ชั้นเรียน โรงเรียน ที่ตั้ง

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI การเจ็บป่วยในอดีต ประวัติคลอด: ความผิดปกติขณะ ANC, ขณะคลอด, หลังคลอด, อายุครรภ์, วิธีการคลอด, นน.แรกเกิด การเจ็บป่วยตั้งแต่แรกคลอด พัฒนาการ ประวัติการแพ้ การเจ็บป่วยเนื่องจากการรับวัคซีนครั้งก่อนๆ ประวัติโรคประจำตัวของผู้ป่วยและครอบครัว

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI การเจ็บป่วยหลังจากรับวัคซีนในครั้งนี้ วันเริ่มป่วย เวลา วันรับรักษา HN, AN, อาการ อาการแสดงที่ตรวจพบ อาการนำ อาการสำคัญที่ทำให้มาโรงพยาบาล Vital signs การตรวจร่างกาย (ตามบันทึกของแพทย์) การวินิจฉัย แพทย์ผู้รักษา ผลการรักษา: หาย ยังรักษาอยู่ ตาย มีภาวะแทรกซ้อน refer รพ. ................

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI การเจ็บป่วยหลังจากรับวัคซีนในครั้งนี้ (ต่อ) ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ Lab เบื้องต้น: CBC, E’lyte, UA, CXR Lab เฉพาะ: CSF, CT ขอ specimen ที่เหลือจากการตรวจที่ รพ. เก็บรักษาไว้ก่อน กรณีเสียชีวิตกะทันหัน: เก็บเลือด, อาเจียน/น้ำล้างกระเพาะ/ น้ำล้างปอด,…

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI 2. ข้อมูลวัคซีน  วัคซีนที่ได้รับครั้งนี้: ชนิดของวัคซีน บริษัทที่ผลิต lot no. วันหมดอายุ ปริมาณที่ได้รับ วิธีการให้ ตำแหน่งที่ฉีด สถานที่รับวัคซีน  วัน เวลาที่รับวัคซีน เข็มที่ฉีด  การกระจายของวัคซีน เริ่มให้บริการด้วยวัคซีนนี้เมื่อไร การเก็บวัคซีนส่งตรวจ Lot, จำนวน, วัน/สถานที่ส่งตรวจ

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI 3. ข้อมูลการบริหารจัดการวัคซีน  กระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ จำนวนผู้ปฏิบัติงานการให้วัคซีนที่ปฏิบัติเป็นประจำ  ความรู้และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่  ระบบลูกโซ่ความเย็น  จำนวนเด็กที่รับวัคซีน (ขวด / lot เดียวกัน) รายชื่อเด็ก ลำดับที่รับวัคซีน

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI

2 – 8 องศา หรือแช่แข็ง 4 – 8 องศา Freezer BCG, OPV, Measles, MMR 2 – 8 องศา หรือแช่แข็ง BCG OPV MMR DPT HBV 4 – 8 องศา DPT HBV ขวดน้ำ ขวดน้ำ ขวดน้ำ

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI ผู้ที่รับวัคซีนชนิด และ lot no. เดียวกับผู้ป่วย ผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีนชนิด และ lot no. เดียวกับผู้ป่วย พื้นที่ค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม - กรณีเสียชีวิต ค้นหาผู้ป่วย AEFI เพิ่มทั้งจังหวัด - กรณีอื่นๆนอกจากการเสียชีวิต ค้นหาผู้ป่วย AEFI อย่างน้อยในอำเภอเดียวกับผู้ป่วยรายแรก

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI 4. การเก็บวัคซีนส่งตรวจวิเคราะห์ - เก็บขวดวัคซีนทุกชนิดที่เปิดใช้แล้วไว้ในตู้เย็นหลัง ให้บริการอย่างน้อย 7 วัน (อุณหภูมิ 2-8 OC) - อยู่ในสภาพที่สะอาดปราศจากเชื้อเช่นเดียวกับการเก็บรักษาวัคซีนที่ยังไม่ได้เปิดใช้

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI 4. การเก็บวัคซีนส่งตรวจวิเคราะห์ (ต่อ) - กรณีเสียชีวิต ให้เก็บขวดวัคซีนทุกชนิดที่ผู้เสียชีวิต ได้รับ ส่งตรวจวิเคราะห์คุณภาพ - กรณีอื่นๆนอกจากการเสียชีวิต เมื่อมีการสอบสวนแล้วจึงจะพิจารณาจากการสอบสวนว่าควรจะส่งวัคซีนตรวจหรือไม่

ข้อมูลอะไรบ้างที่ควรได้จากการสอบสวน AEFI 5. การส่งศพพิสูจน์  ควรประสานขออนุญาตบิดามารดา หรือผู้ปกครอง ให้มีการส่งศพผ่าพิสูจน์ เพื่อหาสาเหตุการเสียชีวิต  หากไม่สามารถให้มีการส่งศพผ่าพิสูจน์ได้ ให้เก็บตัวอย่างจากศพส่งตรวจ ได้แก่ เก็บตัวอย่างเลือด น้ำไขสันหลัง น้ำในช่องปอด หรืออื่นๆ พิจารณาตามอาการของผู้ป่วย

การสอบสวนผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน ภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (AEFI Cluster Investigation)

AEFI Cluster investigation Cluster of AEFI All cases from only one facility? (assume same lot used elsewhere) Yes ?

AEFI Cluster investigation Cluster of AEFI All cases from only one facility? (assume same lot used elsewhere) Yes Programme error Keep in mind: Lot distributed to other sites, but not yet in use? Coincidental ? Ability to identify other common factors? Unknown?

AEFI Cluster investigation Cluster of AEFI All cases from only one facility? (assume same lot used elsewhere) All cases got same vaccine or lot ? No Yes Similar illness in others who did not get the vaccine? ? No Yes ?

AEFI Cluster investigation Cluster of AEFI All cases from only one facility? (assume same lot used elsewhere) All cases got same vaccine or lot ? No Yes Similar illness in others who did not get the vaccine? Manufacturer error, batch problem or transport/storage error No Keep in mind: Significant delay between event and investigation? Completeness of vaccination records? Yes Coincidental event

AEFI Cluster investigation Cluster of AEFI All cases from only one facility? (assume same lot used elsewhere) All cases got same vaccine or lot ? Known vaccine reaction? No No Yes Rate of reaction within the expected rate? No ? Yes ?

AEFI Cluster investigation Cluster of AEFI All cases from only one facility? (assume same lot used elsewhere) All cases got same vaccine or lot ? Known vaccine reaction? Keep in mind: Whose rates? Small country context Age group specific? Routine versus mass campaign / NIDS AEFI surveillance No No Yes Rate of reaction within the expected rate? No Programme error or vaccine quality problem Keep in mind: Correct attribution of symptoms to vaccine reaction? (sterile / non sterile abscess & DTP) Available diagnostics or surveillance to exclude coincidental events? (aseptic meningitis) Yes Vaccine reaction

AEFI Cluster investigation Cluster of AEFI All cases from only one facility? (assume same lot used elsewhere) All cases got same vaccine or lot ? Known vaccine reaction? Similar illness in others who did not get vaccine? No No No No ? Yes ?

AEFI Cluster investigation Cluster of AEFI All cases from only one facility? (assume same lot used elsewhere) All cases got same vaccine or lot ? Known vaccine reaction? Similar illness in others who did not get vaccine? No No No No Programme error, coincidental or unknown Yes Keep in mind: Can still be related to the vaccination or a programme error e.g., if EPI staff providing other preventive or curative interventions which fit the "time" and "place" criteria for the cluster definition Should be investigated since it can affect the EPI programme if the intervention is integrated with EPI services. Coincidental event

AEFI Cluster investigation Cluster of AEFI All cases from only one facility? (assume same lot used elsewhere) All cases got same vaccine or lot ? Known vaccine reaction? Similar illness in others who did not get vaccine? No No No No Programme error, coincidental or unknown Yes Yes Yes Yes Programme error Coincidental event Similar illness in others who did not get the vaccine? Rate of reaction within the expected rate? Manufacturer error, batch problem or transport/storage error No No Programme error or vaccine quality problem Yes Yes Coincidental event Vaccine reaction

Investigation: Taking Action Suspending vaccination is RARELY necessary Revisions made Deleted 2nd bullet ("ONLY IF obvious and clear") To be addressed Add notes on when suspension may be necessary 39

Investigation: Taking Action Treat the patient Initially communicate with patient, parents, health workers and community Analyze the data review epidemiological data, clinical and lab findings Take appropriate corrective action Summarize and report findings to national stakeholders international level 40

Investigation: Taking Action Specific to AEFI type Programme error change in logistics for supplying, storing or handling vaccine change in procedures at the health facility training of health workers intensified supervision measure outcome of corrective action: short- and long-term Coincidental communication so people understand that link is just coincidental Vaccine reaction (higher rate than expected) consult with WHO may have to withdraw specific lot(s) change supplier or manufacturing specifications/quality control 41

คณะกรรมการ AEFI คณะกรรมการประสานการเฝ้าระวังสอบสวนและตอบสนองต่อกรณี AEFI (กรมวิทย์, อย. EPI, สำนักระบาดวิทยา) -ประสาน แลกเปลี่ยน วิเคราะห์ข้อมูล และตอบสนองต่อปัญหา AEFI- คณะผู้เชี่ยวชาญพิจารณาอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค -เป็นที่ปรึกษาและพิจารณาสรุปสาเหตุ- คณะกรรมการพัฒนาระบบคุณภาพ การเฝ้าระวังสอบสวน AEFI -พัฒนามาตรฐานการเฝ้าระวังสอบสวน-

การดำเนินการในส่วนกลาง สำนักระบาดวิทยา ได้รับแจ้ง หรือ ได้รับรายงานผู้ป่วย AEFI กรณี serious, death, cluster สำนักระบาดวิทยา แจ้งโดยด่วน 1. สอบสวนโดยจังหวัด 2. สอบสวนโดยส่วนกลาง สำนักระบาดวิทยารายงานให้ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ รายงานผลการสอบสวน กรมวิทย์ อย. EPI สรุปสาเหตุโดยคณะ ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา AEFI ตรวจสอบคุณภาพวัคซีน แจ้งบริษัท / ดำเนินการตามกฎระเบียบ ทบทวนการบริหารจัดการวัคซีน

สรุป AEFI ระบบเดิม แต่เพิ่ม/ขยายศักยภาพของพื้นที่ เครื่องมือช่วยในการรายงานและสอบสวนโรค แบบสอบสวน AEFI 1 แบบสอบสวน AEFI 2 คู่มือ มีคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญช่วยในการสรุปสาเหตุของ AEFI แต่ละราย และกำหนดมาตรการตอบสนอง ข้อมูลที่ได้นำไปป้องกันการเกิด AEFI (program error) และช่วยในเรื่อง Risk communication เกิดการเรียนรู้และปรับปรุงเรื่อง vaccine safety ต่อไป

ขอบคุณค่ะ/ครับ วัคซีน ปลอดภัย