บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Lecture 8.
จงหาค่า A-G MU TU 1 12 A 2 9 B 3 C 26 4 D 5 E F 7 -6 G
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์.
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ต้นทุนการผลิต.
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)

ทฤษฎีอธิบายพฤติกรรมผู้บริโภค ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory) เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคสามารถวัดได้ ถือเป็น Cardinal Theory ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดได้ จะบอกได้เพียงว่ามีความพอใจมากกว่าหรือน้อยกว่า ถือเป็น Ordinary Theory

ทฤษฎีอรรถประโยชน์ อรรถประโยชน์ (Utility) : ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการอุปโภคบริโภคสินค้าและบริการ ความพอใจที่ได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการสามารถวัดเป็นหน่วย ได้เรียกว่า util เศรษฐทรัพย์ (Economic goods) ทุกชนิดย่อมมีอรรถประโยชน์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการในสินค้า สินค้าชนิดเดียวกันจำนวนเท่ากันอาจให้ประโยชน์ต่างกันได้ กรณีเวลาต่างกัน หรือผู้บริโภคต่างกัน

ความหมายของอรรถประโยชน์เพิ่ม(MU) และอรรถประโยชน์รวม (TU) อรรถประโยชน์เพิ่ม (Marginal Utility :MU) ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับเพิ่มขึ้นจากการบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย อรรถประโยชน์รวม(Total Utility : TU) ผลรวมของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) ที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้า ตั้งแต่หน่วยแรกจนถึงหน่วยที่กำลังพิจารณา TU = MUi MUn = TUn – TUn-1 N i=1

ความสัมพันธ์ระหว่าง TU และ MU

Relationship of Total and Marginal Utility (continued) MU > 0 , TU MU = 0 , max TU MU < 0 , TU กฏการลดน้อยลงอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้นๆที่ละหน่วยอรรถประโยชน์ ส่วนเพิ่มของสินค้าและบริการหน่วยที่เพิ่มนั้นจะลดลงตามลำดับ

ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) เป็นการพิจารณาว่าผู้บริโภคจะใช้จ่ายเงินรายได้ที่มีอยู่จำกัดในการซื้อสินค้าและบริการชนิดต่างๆ อย่างไร จึงจะได้รับความพอใจสูงสุด (Maximize Utility)

ดุลยภาพผู้บริโภค กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด และสินค้าทุกชนิดมีราคาเท่ากัน max TU เมื่อ MUa = MUb = ………= 0 กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้จำกัดและสินค้าทุกชนิดราคาเท่ากัน max TU เมื่อ MUa = MUb = ……… = MUn = k กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้จำกัดและสินค้าทุกชนิดราคาไม่เท่ากัน max TU เมื่อ MUa/Pa = MUb/Pb = ……… = MUn / Pn = k

เงื่อนไขการบริโภคที่เหมาะสมที่สุดภายใต้รายได้จำกัด MU , TU Mub Mua Q2 Q1 Q3 Q2 Q1 Q3 สัดส่วนการบริโภคสินค้า a จำนวน Q1 หน่วย และ b จำนวน Q1 หน่วย ดีที่สุด เงื่อนไขนี้คือ Mua = Mub

ข้อโต้แย้งทฤษฎีอรรถประโยชน์ ในการซื้อสินค้าและบริการผู้บริโภคไม่ได้สนใจถึง MU ของสินค้าแต่ละชนิด ทำให้ไม่เกิดดุลยภาพ ผู้บริโภคมักซื้อสินค้าตามความเคยชิน ไม่ได้คำนึงถึง MU ความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดเป็นหน่วยได้

ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) เส้นความพอใจเท่ากัน (เส้นIC ) คือ เส้นที่แสดงสัดส่วนของสินค้าสองชนิดที่แตกต่างกันแต่ให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคเท่ากัน

แผนภาพเส้นความพอใจเท่ากัน เส้น IC ของผู้บริโภคคนหนึ่งๆ มีได้หลายเส้นเพราะความพอใจของผู้บริโภคมีหลายระดับ โดยเส้นที่อยู่เหนือกว่าย่อมให้ความพอใจมากกว่า IC3 > IC2 > IC1

คุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากัน เป็นเส้นโค้งทอดลงจากซ้ายมาขวา เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด (origin) เส้นความพอใจเท่ากันตัดกันไม่ได้ เป็นเส้นที่ต่อเนื่องไม่ขาดตอน

อัตราส่วนเพิ่มของการทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด (Marginal Rate of Substitution : MRS) สมมุติให้ x และ y เป็นสินค้า 2 ชนิดนั้น ถ้าผู้บริโภคได้รับสินค้า x เพิ่มขึ้น 1 หน่วย โดยได้รับสินค้า y ลดลง ค่าMRSxy = -dY/dX คือค่า slope ของเส้น IC ถ้าผู้บริโภคได้รับสินค้า y เพิ่มขึ้น 1 หน่วย โดยบริโภคสินค้า x ลดลง ค่า MRSyx = -dX/dY

กฎการลดน้อยถอยลงของอัตราส่วนเพิ่มของ การทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด (Law of Diminishing Marginal Rate of Substitution) เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นที่ละหน่วย (สินค้า x) ค่า MRSxy จะมีค่าลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากสินค้าทั้งสองชนิดทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์ ซึ่งเป็นเหตุผลที่อธิบายว่าทำไมเส้น IC จึงโค้งเข้าหาจุดกำเนิด

ข้อยกเว้น 1. กรณี 2 ชนิดทดแทนกันได้สมบูรณ์ x y IC 1. กรณี 2 ชนิดทดแทนกันได้สมบูรณ์ x y IC ค่า MRSxy , MRSyx มีค่าคงที่ตลอดทั้งเส้น ค่า MRSx = ∞ ในช่วง IC ตั้งฉาก ค่า MRSx = 0 ในช่วง IC ขนานกับ แกนนอน 2. สินค้า 2 ชนิดใช้ประกอบกัน y x IC

เส้นงบประมาณ (Budget Line) สินค้า y เส้นงบประมาณ slope = -Px/Py สินค้า x

การเปลี่ยนแปลงเส้นงบประมาณ 1. รายได้เปลี่ยน , ราคาสินค้า x และ y คงที่ y x 2. รายได้คงที่ , ราคาเปลี่ยน 2.2 รายได้คงที่ , ราคาสินค้า y เปลี่ยน , ราคา x คงที่ 2.1 รายได้คงที่ , ราคาสินค้า x เปลี่ยน , ราคา y คงที่ y y x x

ดุลยภาพของผู้บริโภค ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเกิดขึ้นเมื่อผู้บริโภคใช้เงินที่มีอยู่จำกัดซื้อสินค้า 2 ชนิด โดยทำให้เขาได้รับความพอใจสูงสุด

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงเมื่อรายได้ที่แท้จริงเปลี่ยน

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงเมื่อราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยน อีกชนิดหนึ่งคงที่

การสร้างเส้นอุปสงค์จากการวิเคราะห์เส้น IC Price demand : See page 79, 81 Income demand : See page page 81 Substitution Effect and Income Effect See page 82-84