Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
Advertisements

รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
ประสิทธิภาพการใช้นโยบายภายใต้การวิเคราะห์แบบจำลอง IS-LM
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
Training Management Trainee
การประยุกต์ 1. Utility function
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
MARKET PLANNING DECISION
Application of Graph Theory
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง 2/2550
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
(Sensitivity Analysis)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การบริโภค การออม และการลงทุน
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ
การใช้งานโปรแกรม EViews เบื้องต้น
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การวางแผนกำลังการผลิต
พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์.
LOGO บัญชีรายได้ประชาชาติและองค์ประกอบค่าใช้จ่าย.
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Demand in Health Sector
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง

รายได้ประชาชาติดุลยภาพ รายได้ประชาชาติที่อยู่ในระดับเดียวกับความต้องการใช้จ่ายมวลรวม เป็นระดับรายได้ประชาชาติที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตราบเท่าที่องค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมยังคงสภาพเดิม (Aggregate Demand = Aggregate Suppy) การวิเคราะห์รายได้ดุลยภาพในแบบจำลองแบ่งได้ 2 แนวทาง คือ - แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทาน (AD = AS) - แนวทางส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด (S+T+M = (I+G+X)

แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทาน อุปสงค์รวมประกอบด้วย C +I +G+ (X-M) = AD (Aggregate Demand) อุปทานรวมคือผลิตภัณฑ์ประชาชาติ = Y = AS (Aggregate Supply) ข้อสมมุติ GDP at mkp = NI ดังนั้น NI = Y รายได้ประชาชาติอยู่ในดุลยภาพเมื่อ C + I + G + (X-M) = Y

การวิเคราะห์จากกราฟ Y , AS AD AD < (Y , AS) AD = C + I +G + (X-M) E ADe AD > AS Y Y1 Ye Y2

Example (1) Suppose C = 100 +0.8 Yd I = 100 mil. bt G = 200 mil. bt X = 50 mil. bt M = 30 mil.bt T = 10 mil. Bt จงหา ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ , graph

แปรดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย S , T , M แนวทางส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด - ส่วนรั่วไหล คือ ส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เมื่อตัว แปรดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย S , T , M - ส่วนอัดฉีด คือ ส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น เมื่อตัว แปรดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย I , G , X รายได้ประชาชาติจะอยู่ในระดับดุลยภาพก็ต่อเมื่อ S + T +M = I + G + X สมมติให้ I : เป็นการลงทุนอิสระ

การวิเคราะห์จากกราฟ S+T+M=I+G+X S+T+M E I+G+X Y1 Ye Y2 Y -Ca+Ma

Example (2) Suppose C = 100 +0.8 Yd I = 100 mil. bt G = 200 mil. bt X = 50 mil. bt M = 30 mil.bt T = 10 mil. Bt จงหา ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพด้วยวิธี ส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด , แสดง graph

การเปลี่ยนแปลงระดับดุลยภาพและระดับว่าจ้างทำงานดุลยภาพ รายได้ประชาชาติดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลง เมื่อตัวกำหนดรายได้เปลี่ยนแปลง ตัวกำหนดรายได้ดุลยภาพ คือ อุปสงค์รวมและอุปทานรวม เมื่อตัวกำหนดอุปสงค์รวมเปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่มีผลต่อ C , I , G , (X-M) ตัวได้ตัวหนึ่งเปลี่ยนหรือทุกตัวพร้อมกัน จะทำให้รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปด้วย หรือ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของส่วนรั่วไหลและส่วนอัดฉีด

การวิเคราะห์จากกราฟ กำหนดรายจ่ายของการลงทุนเพิ่มขึ้น การวิเคราะห์จากกราฟ กำหนดรายจ่ายของการลงทุนเพิ่มขึ้น Y1 Y2 Y AD1 AD2 AD Y1 Y2 Y I+G+X I+G’+X S+T+M

ทฤษฎีว่าด้วยตัวทวี (Multiplier) คือ ค่าที่เป็นตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแลงในรายจ่ายอิสระแล้ว ระดับรายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนแปลงไปเท่าใดของรายจ่ายอิสระ เช่น Y = k I เมื่อ Y : การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ I : การเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายในการลงทุน k : ตัวทวี ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1 / (1 - MPC) = 1 / MPS Assumptions : 1. Close economy 2. All variables are autonomous except C

Example (3) From Exs 1 and 2 , C = 100 +0.8 Yd, I = 100 mil. Bt, G = 200 mil. Bt., X = 50 mil. Bt., M = 30 mil.bt., T = 10 mil. Bt Suppose investment increase by 100 mil bt. (การลงทุนเพิ่มขึ้น 100 mil bt, I = 100 ) จงหา k

ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (YE) ที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง อาจจะมีค่าไม่เท่ากับรายได้ประชาชาติ ณ ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่(Full Employment Income หรือ Potential Income; YF) เมื่อไม่เท่ากันส่วนต่างดังกล่าวเรียกว่า ช่วงห่างรายได้ (Income gap) ซึ่งมี 2 ชนิด คือ ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด (YE ≠ YF) ช่วงห่างการเฟ้อ (Inflationary gap) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่ามากกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่(YE >YF) ช่วงห่างการฝืด (Deflationary gap) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่าต่ำกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่ (YE < YF)

การพิจารณาช่วงห่างการเฟ้อและช่วงห่างการฝืดจากกราฟ AD ช่วงห่างการเฟ้อ AD2 E2 ADf Ef AD1 E1 ช่วงห่างการฝืด Y1 Yf Y2