เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
จงหาส่วนประกอบของแรงในแนว ทำกับประจุที่จุดA(3,4,12) โดย F
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
การแตกแรง และ การรวมแรงมากกว่า 2 แรง
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
เวกเตอร์และสเกลาร์ขั้นสูง
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
เวกเตอร์และสเกลาร์ ขั้นสูง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เป็นจุดใดๆ ในพิกัดทรงกลม
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
Tangram.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ระบบอนุภาค.
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
Matrix and Determinant
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Force Vectors (3) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Equilibrium of a Particle
Force Vectors (2) WUTTIKRAI CHAIPANHA
แฟกทอเรียล (Factortial)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
สหสัมพันธ์ (correlation)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
Computer Graphics เรขาคณิต 2 มิติ 1.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai.
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Chapter 1 Vector.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์ สเกลาร์ คือ ปริมาณที่กำหนดได้สมบูรณ์ โดยบอกขนาดเพียงอย่างเดียว เช่น มวล อุณหภูมิ ปริมาตร เวลา เป็นต้น เวกเตอร์ คือ ปริมาณที่กำหนดได้สมบูรณ์ โดยบอกทั้งขนาดและทิศทาง เช่น แรง ความเร่ง ความเร็ว เป็นต้น สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเวกเตอร์

เวกเตอร์หนึ่งหน่วย (unit vector) คือ เวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่งหน่วย เช่น เวกเตอร์หนึ่งหน่วยของเวกเตอร์ เขียนแทนด้วย เมื่อแทนขนาดของเวกเตอร์ด้วย ดังนั้นเวกเตอร์ เขียนได้เป็น ในระบบพิกัดฉาก เวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศทางบวกของแกน x, y, และ z แทนด้วย และ

1.2 องค์ประกอบของเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก 1.2 องค์ประกอบของเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก การแยกเวกเตอร์องค์ประกอบของเวกเตอร์ ใน 2 มิติ y เขียนเป็นสมการได้ว่า หรือ และ เป็นเวกเตอร์องค์ประกอบ ของ ในแนวแกน x และ y  x

การแยกเวกเตอร์องค์ประกอบของเวกเตอร์ ใน 3 มิติ z เขียนเป็นสมการได้ว่า การแยกเวกเตอร์องค์ประกอบของเวกเตอร์ ใน 3 มิติ z เขียนเป็นสมการได้ว่า หรือ  y  x , และ เป็นเวกเตอร์องค์ประกอบของ ในแนวแกน x, y และ z

ตัวอย่าง 1 จงเขียนเวกเตอร์ A ในรูปเวกเตอร์หนึ่งหน่วย z 3 หน่วย 300 y 450 x Ax = 3sin30 cos45 หน่วย = 3(1/2)(0.707) หน่วย Ay = 3sin30 sin45 หน่วย = 3(1/2)(0.707) หน่วย Az = 3cos30 หน่วย = 3(0.866) หน่วย ^ ^ ^  = 1.06 i + 1.06 j + 2.6 k หน่วย ANS

1.3 การบวกและการลบเวกเตอร์ 1.3 การบวกและการลบเวกเตอร์ 1.3.1 การบวกและการลบเวกเตอร์โดยวิธีเรขาคณิต 1. วิธีโพลิกอน หรือ วิธีหางต่อหัว วิธีการหา

2. วิธีสี่เหลี่ยมด้านขนาน วิธีการหา

1.3.2 การบวกและการลบเวกเตอร์โดยวิธีตรีโกณมิติ 1.3.2 การบวกและการลบเวกเตอร์โดยวิธีตรีโกณมิติ เวกเตอร์ และ ทำมุมกัน เมื่อรวมกันได้เวกเตอร์ โดยเวกเตอร์ลัพธ์ ทำมุมกับ เป็นมุม ดังรูป  

1.3.3 การบวกและการลบเวกเตอร์โดยวิธีแยกองค์ประกอบ 1.3.3 การบวกและการลบเวกเตอร์โดยวิธีแยกองค์ประกอบ แตกเวกเตอร์ที่ต้องการรวมกันออกในแต่ละแนวแกน จากนั้นรวมเวกเตอร์ประกอบในแต่ละแนวแกนเข้าด้วยกัน ตัวอย่าง 2 การรวมเวกเตอร์ และ จะได้ แยกองค์ประกอบของแต่ละเวกเตอร์ 1 2

ผลลัพธ์ในแต่ละแกน จะได้ y y  1 2 x x ผลลัพธ์ในแต่ละแกน จะได้ ทิศของ คือ

สมบัติการบวกและลบเวกเตอร์ ให้ , และ เป็นปริมาณเวกเตอร์ และ m และ n เป็นปริมาณสเกลาร์

1.4 การคูณเวกเตอร์ 1.4.1 dot product (scalar product) เป็นการคูณกันของเวกเตอร์กับเวกเตอร์ ถ้า และ เป็นเวกเตอร์ใด ๆ และ  เป็นมุมระหว่าง และ ซึ่งอยู่ระหว่าง 0 ถึง  ผลคูณแบบ dot product สามารถเขียนได้เป็น

ผลคูณแบบ cross product สามารถเขียนได้เป็น 1.4.2 cross product (vector product) เป็นการคูณกันของเวกเตอร์ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้เป็นปริมาณเวกเตอร์ซึ่งมีทิศทางเป็นไปตาม “กฎมือขวา” ถ้า และ เป็นเวกเตอร์ใด ๆ และ  เป็นมุมระหว่าง และ ซึ่งอยู่ระหว่าง 0 ถึง  ผลคูณแบบ cross product สามารถเขียนได้เป็น เมื่อ เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางตั้งฉากกับระนาบ AB ผลคูณเวกเตอร์แบบ cross product เขียนในรูปผลคูณขององค์ประกอบ คือ 

หรืออาจเขียนในรูปดีเทอร์มิแนนท์ (Determinant) คือ สมบัติพื้นฐานของการคูณแบบ cross product

^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ตัวอย่าง ให้ A = 2 i + 3 j + 5 k และ B = 3 i – 2 j + k จงคำนวณหา ก. A+B ข. A-B ค. A.B ง. A x B ก. A+B ^ ^ ^ ^ ^ ^ A+B = (2+3) i + (3+(-2)) j + (5+1) k = 5 i + j + 6 k ANS ^ ^ ^ ^ ^ ^ ข. A-B ^ ^ ^ ^ ^ ^ A-B = (2-3) i + (3-(-2)) j + (5-1) k = -i + 5 j + 4 k ANS ^ ^ ^ ^ ^ ^

A x B = (3x1 – 5(-2)) i + (5x3 – 2x1) j + (2x(-2) – 3x3) k ค. A.B A+B = (2x3) + (3x(-2)) + (5x1) = 5 ANS ง. A x B ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ A = 2 i + 3 j + 5 k B = 3 i – 2 j + k ^ ^ ^ ^ ^ ^ A x B = (3x1 – 5(-2)) i + (5x3 – 2x1) j + (2x(-2) – 3x3) k = (3+10) i + (15-2) j + (-4-9) k = 13 i + 13 j – 13 k ANS ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^