Killing Fields ในกัมพูชา ปี ค.ศ. 1975-1979.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
Advertisements

กัมพูชาประชาธิปไตย กัมพูชาประชาธิปไตย.
13 คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับเขื่อน 1. ทำไมจึงมีการต่อต้านเขื่อนขนาดใหญ่อย่าง กว้างขวาง? ตอบ เขื่อนขนาดใหญ่เป็น ชนวนของความขัดแย้ง ทางสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ.
ตำนานเมืองฟ้าแดด เนื้อเรื่อง
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก
Choranont Anupongpath
อิรัก-อิหร่าน.
สงครามเวียตนาม.
สงครามเกาหลี.
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ประวัติความเป็นมาของอาเซียน
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
ธงชาติอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.ชนกนันท์ เนาวะบุตร ด.ญ.อารีรัตน์ อ่อนสี
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน ธงประจำชาติ ประเทศสมาชิก แบบทดสอบ
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
การเมืองการปกครองรัชกาลที่ 7
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
พ.ต.ศรศักร ชูสวัสดิ์ (ผศ.ดร.) กองวิชาประวัติศาสตร์ สกศ.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
สัญลักษณ์ของอาเซียนคืออะไร
สาระสำคัญจากการประชุมคณะกรรมการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานกักขัง ควบคุม และสถานบำบัดของกระทรวงยุติธรรม ครั้งที่ 1/2552 แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบ่งออกเป็น.
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
ที่มา และแนวคิดสิทธิมนุษยชนใน อารยธรรมไทย รับผิดชอบโดย อ. ทศพลทรรศนกุลพันธ์
ประเทศสมาชิกอาเซียน.
การป้องกันประเทศ 1 พม่า
คุณณรงค์ โชควัฒนา นักวิชาการและนักธุรกิจอิสระ
คลิกเพื่อไปหน้าต่อไป คลิกเพื่อกลับหน้าก่อนหน้า คลิกเพื่อกลับหน้าหลัก คลิกเพื่อออกจากบทเรียน.
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
โครงการมหกรรมกีฬาต้านยาเสพติด อบต.น้ำผุด คัพ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2551
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
ประวัติและโครงสร้าง การลูกเสือไทย วัตถุประสงค์
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สมาชิกในอาเซียน.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
Welcome.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
ของเด็กหญิงไอรดา ภาคสุข
จัดทำโดย ด.ญ. ชนิตา พรหมรักษ์ เลขที่ 17 กลุ่ม 13
งานชิ้นที่..1 ชื่อ น. ส. สุภาลัย หมายถม กลาง. ความหมายและคุณค่าของการ ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อ ความเจริญก้าวหน้าของทุกๆ.
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
36 1. สหรัฐอเมริกาใช้อะไรในการฟื้นฟู เศรษฐกิจของทวีปยุโรป เพื่อต่อ ต้านคอมมิวนิสต์ ก. แผนการมาร์แชลล์ ข. หลักการทรูแมน ค. แผนการโมโลตอฟ ง. นโยบายกลาสต์-เปเรสตรอยกา.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Killing Fields ในกัมพูชา ปี ค.ศ. 1975-1979

ความเป็นมา ข้อตกลงที่เจนีวา กัมพูชาเป็นอิสระ ข้อตกลงที่เจนีวา กัมพูชาเป็นอิสระ มีการเลือกตั้ง ค.ศ. 1955 พรรคเจ้านโรดมสีหนุ มีสิทธิ์จัดตั้งรัฐบาล เป็นนายกรัฐมนตรี

1970 นายพลลอนนอลและเจ้าสิริมาตะโค่นล้มเจ้าสีหนุ เจ้าสีหนุ ตั้งรัฐบาลพลัดถิ่น 1975 เขมรแดง (จีนสนับสนุน) ยึดพนมเปญ นำระบบคอมมิวนิสต์มาใช้อย่างเข้มงวด

เหตุการณ์ ค.ศ. 1975-1978 มีการปกครองกัมพูชาโดยการใช้ลัทธิคอมมิวนิสต์เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมด้วยวิธีรุนแรง โดยเฉพาะชนชั้นกลางและชนชั้นสูง มากกว่า 1 ล้านคน เป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เดี่ยวกันเปรียบเสมือนยุคมืดของกัมพูชา

พลพต พล พต ชื่อว่าระบบสังคมนิยมจะนำกัมพูชา สู่ความเจริญรุ่งเรืองเหมือนในอดีตได้ โดยประเทศควรจะอยู่อย่างสันโดษ ไม่ต้องเพิ่งวิทยาการเทคโนโลยีใดๆ ขอให้มีข้าวกินก็อยู่ได้

มีการกวาดล้างผู้ที่เป็นปฏิปักษ์ทางความคิด นักศึกษาปัญญาชน แพทย์ วิศวกร นักปราชญ์ ศิลปิน คนใส่แว่นสายตาที่ดูเหมือนมีความรู้ เป็นภัยต่อความมั่นคง ปกครองยาก จะถูกฆ่าอย่างไร้เหตุผล พลพต ต้องการให้กัมพูชามีแต่ชนชั้นกรรมาชีพ

หอแก้ว อนุสรณ์แห่งความโหดเหี้ยม “ทุ่งสังหาร”ชานกรุงพนมเปญ

กระดูกมนุษย์ที่ทุ่งสังหาร นักโทษถูกนำตัวจากคุกตุล สเลง ซึ่งอยู่ห่างจากตัวกรุงพนมเปญประมาณ 15 กิโลเมตรมาที่นี่

ทหารเขมรแดง

ห้องกักขังนักโทษ ที่Tuol Sleng

คุกหมายเลขS – 21ชื่อ (Tuol Sleng) ที่พวกเขมรแดงดัดแปลงจากโรงเรียนมัธยม ประมาณว่ามีนักโทษในช่วงสี่ปีที่เขมรแดงเรืองอำนาจ ถึงประมาณ 17,000 -20,000

การทรมานนักโทษ การทุบตี การใช้ไฟฟ้าช็อต การถอดเล็บ หรือการการบังคับให้กินอุจาระหรือปัสสาวะ การแขวนคอ นักโทษจะถูกล่ามอยู่ตลอดเวลาแม้แต่นอนหลับ หากอยู่ในห้องขังที่แคบมากจะถูกล่ามติดกับผนัง ถ้าอยู่ในห้องใหญ่ ๆ จะเป็นโซ่ยาวผูกติดกันทุกคน

หลังจากทรมาณนักโทษก็จะถูกส่งไปยัง เจืองแอ็ก (Choeung Ek) สวนผลไม้เก่า ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากกรุงพนมเปญซึ่งเป็นหนึ่งในทุ่งสังหาร (The Killing Field) เพื่อนำไปสังหารโดยวิธีการต่าง ๆ ยกเว้นการใช้กระสุน แล้วฝังศพเป็นหมู่ มีถึง 8,895ศพ ในหลุมขนาดใหญ่

แผนที่ประเทศกัมพูชาที่ทำด้วยหัวกระโหลกผู้เสียชีวิต

Vann Nath ตอนถูกจองจำ และภาพปัจจุบัน

ภาพการทำงานในค่าย Killing Fields

ภาพของประชานที่ถูกจองจำใน Tuol Sleng ช่วงที่พอลพตยึดครองในปี 1975 -1979.

การเมืองแยกเป็น 3 กลุ่ม 1978 กองกำลังเวียดนามขับไล่เขมรแดงออกจากกัมพูชาสนับสนุนให้นายเฮง สัมรินเป็นผู้นำกัมพูชา การเมืองแยกเป็น 3 กลุ่ม

เขมรสามฝ่าย เขมรแดง รัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตย เขมรแดง รัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตย เขียว สัมพัน ประมุข นายพลพต เป็นนายกรัฐมนตรี เลขาธิการพรรค นาย เฮียง สารี เป็นรองนายกรัฐมนตรี

เขมรเสรี “กลุ่มแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติของประชาชนเขมร” มีผู้นำคือนายซองซาน กลุ่มเจ้านโรดมสีหนุ “แนวร่วมแห่งชาติเพื่อเอกราช ความเป็นกลาง สันติภาพและความร่วมมือในกัมพูชา”

การแก้ไขปัญหาโดยกลุ่มอาเชียน ยุติการรบในกัมพูชา ถอนทหารต่างชาติออกไป ให้มีการเลือกตั้งในกัมพูชา การจัดการเลือกตั้งอยู่ในความควบคุมของสหประชาชาติ

30 เม.ย. 1989 เวียดนามถอนทหารออกจากกัมพูชา การเลือกตั้งทั่วไปในกัมพูชา 1993 พรรคฟุนซินเป็ก เจ้านโรดม รณฤทธิ์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 พรรคประชาชน สมเด็จฮุนเซน นายกรัฐมนตรีคนที่ 2

เจ้านโรดม สีหนุ สมเด็จฮุนเซน นโรดมรณฤทธิ์

เจ้าสีหนุสละราชสมบัติ ค. ศ เจ้าสีหนุสละราชสมบัติ ค.ศ. 2004 เจ้าชายนโรดม สีหมณี กษัติย์กัมพูชาองค์ต่อมา