ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
Photochemistry.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
Ground State & Excited State
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
(Colligative Properties)
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
บทที่ 5 ระบบการป้องกันไฟไหม้และระเบิด
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
: Electronic Lesson Introduction to Electroanalytical Chemistry
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
พลังงานไอออไนเซชัน.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
เซลล์เชื้อเพลิง.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
สังกะสี แคดเมียม.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
พันธะเคมี.
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เคมีไฟฟ้า(Electrochemistry)
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
การประเมินผล ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70: 30
Introduction to Electrochemistry
ไฟฟ้าเคมี ชุดที่ 2 อ.ศราวุทธ
ดร. อุษารัตน์ รัตนคำนวณ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า

เคมีไฟฟ้า กระบวนการทางเคมีไฟฟ้า (electrochemical process) หมายถึงปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระหว่างพลังงานไฟฟ้าและพลังงานเคมี ซึ่งมี 2 ประเภท คือ spontaneous process เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง และ มีการปลดปล่อยพลังงานไฟฟ้าออกมาจากปฏิกิริยา non-spontaneous process เป็นกระบวนการที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เองและต้องมีการให้พลังงานไฟฟ้าเพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยา

2Mg (s) + O2 (g) 2MgO (s) เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เลขออกซิเดชันลดลง ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าและเคมีจะเกี่ยวข้องกับการถ่ายเทอิเล็กตรอนของสารเคมีที่เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox reaction) โดยสารที่รับอิเล็กตรอนในปฏิกิริยา เรียกว่าตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent) และ สารให้อิเล็กตรอนเรียกว่า ตัวรีดิวซ์ (reducing agent) 2+ 2- 2Mg (s) + O2 (g) 2MgO (s) เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เลขออกซิเดชันลดลง oxidant reductant Oxidation half-reaction (lose e-) 2Mg 2Mg2+ + 4e- Reduction half-reaction (gain e-) O2 + 4e- 2O2-

Li+, Li = +1; Fe3+, Fe = +3; O2-, O = -2 เลขออกซิเดชัน ประจุสมมุติบนอะตอมของธาติในสารประกอบหรือไอออน เมื่อคิดว่าสารประกอบหรือไอออนนั้นเป็นไอออนิก คือ มีการถ่ายเทอิเล็กตรอนระหว่างธาตุอย่างสมบูรณ์ ธาตุอิสระมีเลขออกซิเดชันเป็น ศูนย์ Na, Be, K, Pb, H2, O2, P4 = 0 ไอออนของธาตุอะตอมเดียวมีเลขออกซิเดชันเท่ากับประจุ Li+, Li = +1; Fe3+, Fe = +3; O2-, O = -2 โดยปกติออกซิเจนอะตอมมีเลขออกซิเดชันเป็น –2 แต่ออกซิเจนใน H2O2 และ O22- เป็น –1

ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชันเป็น +1 ยกเว้น เมื่อเป็นสารประกอบไฮไดรด์ของโลหะซึ่งมีเลขออกซิเดชันเป็น –1. โลหะหมู่ IA มีเลขออกซิเดชันเป็น +1, โลหะหมู่ IIA มีเลขออกซิเดชันเป็น +2 และฟรูออรีนเป็น –1 เสมอ ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกตัวในโมเลกุลเป็นศูนย์ หรือ เท่ากับประจุของไอออน HCO3- เลขออกซิเดชันของ C ใน HCO3- เป็นเท่าไร? O = -2 H = +1 3x(-2) + 1 + ? = -1 C = +4

การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์ ดุลปฏิกิริยาออกซิเดชันของ Fe2+ เป็น Fe3+ โดย Cr2O72- ในสารละลายกรด เขียนปฏิกิริยาที่ยังไม่ดุล Fe2+ + Cr2O72- Fe3+ + Cr3+ แยกเขียนครึ่งปฏิกิริยา Fe2+ Fe3+ +2 +3 Oxidation: Cr2O72- Cr3+ +6 +3 Reduction: ดุลอะตอมของธาตุที่ไม่ใช่ O และ H ในแต่ละครึ่งปฏิกิริยา Cr2O72- 2Cr3+

การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์ ในกรดเติม H2O และ H+ เพื่อดุล O และ H อะตอมตามลำดับ Cr2O72- 2Cr3+ + 7H2O 14H+ + Cr2O72- 2Cr3+ + 7H2O เติม e- เพื่อดุลประจุ Fe2+ Fe3+ + 1e- 6e- + 14H+ + Cr2O72- 2Cr3+ + 7H2O ดุลจำนวนของอิเล็กตรอนที่ให้และรับ ให้เท่ากัน 6Fe2+ 6Fe3+ + 6e- 6e- + 14H+ + Cr2O72- 2Cr3+ + 7H2O

การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์ รวมครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยจำนวน e- ต้องหักล้างกันหมดพอดี Oxidation: 6Fe2+ 6Fe3+ + 6e- Reduction: 6e- + 14H+ + Cr2O72- 2Cr3+ + 7H2O 14H+ + Cr2O72- + 6Fe2+ 6Fe3+ + 2Cr3+ + 7H2O ตรวจสอบจำนวนอะตอมและประจุทั้งสองข้างต้องดุล H: 14 = 7 x 2 Cr: 2 = 2 O: 7 = 7 Fe: 6 = 6 Charge: 14x1 – 2 + 6x2 = 24 = 6x3 + 2x3

การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์ สำหรับปฏิกิริยาในเบสให้เติม OH- ลงบนทั้งสองข้างของปฏิกิริยา ให้เท่ากับจำนวน H+ ที่เหลืออยู่ 14OH- + 14H+ + Cr2O72- + 6Fe2+ 6Fe3+ + 2Cr3+ + 7H2O + 14 OH- 14H2O + Cr2O72- + 6Fe2+ 6Fe3+ + 2Cr3+ + 7H2O + 14 OH- 7H2O + Cr2O72- + 6Fe2+ 6Fe3+ + 2Cr3+ + 14 OH- H: 7 x 2 = 14 Cr: 2 = 2 O: 7 + 7 = 14 Fe: 6 = 6 Charge: – 2 + 6 x 2 = 10 = 6x3 + 2x3 - 14

การดุลสมการรีดอกซ์ 3 CH3CH2OH + Cr2O72- 2 3 CH3COOH + Cr3+ 4 -3 -1 +6 +3 +3 3 CH3CH2OH + Cr2O72- 2 3 CH3COOH + Cr3+ 4 +4 3CH3CH2OH + 2Cr2O72- + 16H+ 3CH3COOH + 4Cr3+ + 11H2O ประจุ: -4 + 16 = +12 +12 H: 3x6 + 16 = 34 3x4 + 11x2 = 34 O: 3 + 2x7 = 17 3x2 + 11 = 17 3CH3CH2OH + 2Cr2O72- + 5H2O 3CH3COOH + 4Cr3+ + 16OH- ประจุ: -4 +12 - 16 = -4 H: 3x6 + 5x2 = 28 3x4 + 16 = 28 O: 3 + 2x7 + 5 = 22 3x2 + 16 = 22 4.8

เซลล์ไฟฟ้าเคมี anode oxidation cathode reduction spontaneous redox reaction

เซลล์ไฟฟ้าเคมี แผนภาพเซลล์ Zn (s) + Cu2+ (aq) Cu (s) + Zn2+ (aq) [Cu2+] = 1 M & [Zn2+] = 1 M แผนภาพเซลล์ Zn (s) | Zn2+ (1 M) || Cu2+ (1 M) | Cu (s) anode cathode ความต่างศักย์ระหว่างแอโนดและแคโทดเรียกว่า cell voltage electromotive force (emf) cell potential

ความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี Zn (s) | Zn2+ (1 M) || H+ (1 M) | H2 (1 atm) | Pt (s) 2e- + 2H+ (1 M) H2 (1 atm) Zn (s) Zn2+ (1 M) + 2e- Anode (oxidation): Cathode (reduction): Zn (s) + 2H+ (1 M) Zn2+ + H2 (1 atm)

ปฏิกิริยารีดักชันของโปรตอน Standard Hydrogen Electrode (SHE) ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน Standard reduction potential (E0) เป็นศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยารีดักชันที่ขั้วอิเล็กโทรด ณ ความเข้มข้นสารเป็น 1 M และความดันแก๊สเป็น 1 atm ปฏิกิริยารีดักชันของโปรตอน 2e- + 2H+ (1 M) H2 (1 atm) E 0 = 0 V Standard Hydrogen Electrode (SHE)

ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน E 0 = 0.76 V Standard emf (E0 ) cell Standard emf (E0 ) cell E 0 = Ecathode - Eanode cell Zn (s) | Zn2+ (1 M) || H+ (1 M) | H2 (1 atm) | Pt (s) E0 = EH /H - EZn /Zn cell + 2+ 2 0.76 V = 0 - Ezn /Zn 2+ EZn /Zn = -0.76 V 2+ Zn2+ (1 M) + 2e- Zn E0 = -0.76 V

ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน E0 = 0.34 V E0 = Ecathode - Eanode cell E0 = Ecathode - Eanode cell Ecell = ECu /Cu – EH /H 2+ + 2 0.34 = ECu /Cu - 0 2+ ECu /Cu = 0.34 V 2+ Pt (s) | H2 (1 atm) | H+ (1 M) || Cu2+ (1 M) | Cu (s) Anode (oxidation): H2 (1 atm) 2H+ (1 M) + 2e- Cathode (reduction): 2e- + Cu2+ (1 M) Cu (s) H2 (1 atm) + Cu2+ (1 M) Cu (s) + 2H+ (1 M)

ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน E0 เป็นค่าเฉพาะปฏิกิริยาตามที่เขียน ครึ่งปฏิกิริยาเหล่านี้ผันกลับได้ สำหรับปฏิกิริยาย้อนกลับ ให้ กลับ เครื่องหมายหน้าค่า E0 เมื่อคูณสัมประสิทธิ์ในปฏิกิริยาด้วยตัวเลขใดๆ ค่า E0 ไม่เปลี่ยน

Cd is the stronger oxidizer เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่ประกอบด้วย Cd electrode ในสารละลาย 1.0 M Cd(NO3)2 และ Cr electrode ในสารละลาย 1.0 M Cr(NO3)3 มีค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานเป็นเท่าไร? Cd is the stronger oxidizer Cd will oxidize Cr Cd2+ (aq) + 2e- Cd (s) E0 = -0.40 V Cr3+ (aq) + 3e- Cr (s) E0 = -0.74 V Anode (oxidation): Cr (s) Cr3+ (1 M) + 3e- x 2 Cathode (reduction): 2e- + Cd2+ (1 M) Cd (s) x 3 2Cr (s) + 3Cd2+ (1 M) 3Cd (s) + 2Cr3+ (1 M) E0 = Ecathode - Eanode cell E0 = -0.40 – (-0.74) cell E0 = 0.34 V cell

การเกิดขึ้นได้เองของปฏิกิริยารีดอกซ์ DG = -nFEcell n = จำนวนโมลของอิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา F = 96,500 J V • mol DG0 = -nFEcell = 96,500 C/mol DG0 = -RT ln K = -nFEcell Ecell = RT nF ln K (8.314 J/K•mol)(298 K) n (96,500 J/V•mol) ln K = = 0.0257 V n ln K Ecell = 0.0592 V n log K Ecell

การเกิดขึ้นได้เองของปฏิกิริยารีดอกซ์

หาค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาต่อไปนี้ที่ 25 0C Fe2+ (aq) + 2Ag (s) Fe (s) + 2Ag+ (aq) = 0.0257 V n ln K Ecell Oxidation: 2Ag 2Ag+ + 2e- n = 2 Reduction: 2e- + Fe2+ Fe E0 = EFe /Fe – EAg /Ag 2+ + E0 = -0.44 – (0.80) E0 = -1.24 V 0.0257 V x n E0 cell exp K = 0.0257 V x 2 -1.24 V = exp K = 1.23 x 10-42

ผลของความเข้มข้นต่อค่าความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้า DG = DG0 + RT ln Q DG = -nFE DG0 = -nFE -nFE = -nFE0 + RT ln Q Nernst equation E = E0 - ln Q RT nF ที่อุณหภูมิ 298 - 0.0257 V n ln Q E E = - 0.0592 V n log Q E E =

Fe2+ (aq) + Cd (s) Fe (s) + Cd2+ (aq) ปฏิกิริยาต่อไปนี้เกิดขึ้นเองได้หรือไม่ที่อุณหภูมิ 25 0C เมื่อ [Fe2+] = 0.60 M และ [Cd2+] = 0.010 M? Fe2+ (aq) + Cd (s) Fe (s) + Cd2+ (aq) Oxidation: Cd Cd2+ + 2e- n = 2 Reduction: 2e- + Fe2+ 2Fe E0 = EFe /Fe – ECd /Cd 2+ E0 = -0.44 – (-0.40) - 0.0257 V n ln Q E E = E0 = -0.04 V - 0.0257 V 2 ln -0.04 V E = 0.010 0.60 E = 0.013 E > 0 Spontaneous

แบทเทอรี่ Dry cell Anode: Zn (s) Zn2+ (aq) + 2e- Cathode: Leclanché cell Dry cell Anode: Zn (s) Zn2+ (aq) + 2e- Cathode: 2NH4 (aq) + 2MnO2 (s) + 2e- Mn2O3 (s) + 2NH3 (aq) + H2O (l) + Zn (s) + 2NH4 (aq) + 2MnO2 (s) Zn2+ (aq) + 2NH3 (aq) + H2O (l) + Mn2O3 (s)

แบทเทอรี่ Mercury Battery Anode: Zn(Hg) + 2OH- (aq) ZnO (s) + H2O (l) + 2e- Cathode: HgO (s) + H2O (l) + 2e- Hg (l) + 2OH- (aq) Zn(Hg) + HgO (s) ZnO (s) + Hg (l)

แบทเทอรี่ Lead storage battery Anode: Pb (s) + SO2- (aq) PbSO4 (s) + 2e- 4 Cathode: PbO2 (s) + 4H+ (aq) + SO2- (aq) + 2e- PbSO4 (s) + 2H2O (l) 4 Pb (s) + PbO2 (s) + 4H+ (aq) + 2SO2- (aq) 2PbSO4 (s) + 2H2O (l) 4

Solid State Lithium Battery แบทเทอรี่ Solid State Lithium Battery

แบทเทอรี่ fuel cell เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี ของปฏิกิริยาการเผาไหม้ ซึ่งมีการเติมรีเอเจนต์ตลอดเวลาเพื่อให้เซลล์ทำงาน Anode: 2H2 (g) + 4OH- (aq) 4H2O (l) + 4e- Cathode: O2 (g) + 2H2O (l) + 4e- 4OH- (aq) 2H2 (g) + O2 (g) 2H2O (l)

การผุกร่อน

การป้องกันการผุกร่อนของถังเหล็กโดยใช้ขั้ว Mg

Electrolysis เป็นกระบวนการทางเคมีที่ใช้พลังงานไฟฟ้าเพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เอง

อิเลกโทรไลซิสของน้ำ

ปริมาณสารสัมพันธ์ในปฏิกิริยาอิเล็กโทรไลซิส charge (C) = current (A) x time (s) 1 mole e- = 96,500 C

เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้า 0. 452 A เป็นเวลา 1 เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้า 0.452 A เป็นเวลา 1.5 ชั่วโมง ลงในปฏิกิริยาอิเล็กโทรไลซิสของ CaCl2 จะสำให้เกิด Ca กี่กรัม? Anode: 2Cl- (l) Cl2 (g) + 2e- Cathode: Ca2+ (l) + 2e- Ca (s) 2 mole e- = 1 mole Ca Ca2+ (l) + 2Cl- (l) Ca (s) + Cl2 (g) mol Ca = 0.452 C s x 1.5 hr x 3600 s hr 96,500 C 1 mol e- x 2 mol e- 1 mol Ca x = 0.0126 mol Ca = 0.50 g Ca