ความขัดแย้งระหว่าง อิสราเอล-อาหรับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
Advertisements

จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
อักษรภาพอียิปต์โบราณ
เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ นำเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน Company Logo.
การประกาศ พระราชกฤษฎีกา แห่งมิลาน พ.ศ 856 โดย ครูขณิฐภรณ์ พรหมปลูก
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
พระพุทธศาสนาในฟูหนำ ( พศต )
ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
การศึกษาต่อในประเทศจีน
ภูมิประเทศภูมิภาคต่างๆ ของทวีปเอเชีย
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และ การตั้งถิ่นฐานของประชาชน
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย
อิรัก-อิหร่าน.
สงครามเวียตนาม.
สงครามเย็น.
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
กลุ่มอิสลาม ญิฮาดปาเลสไตน์
กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสลัดอากาศ
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
ธงชาติอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.ชนกนันท์ เนาวะบุตร ด.ญ.อารีรัตน์ อ่อนสี
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
เรื่อง ประเทศออสเตรเลีย นฤมล ย้อนใจทัน โรงเรียนอุดมดรุณี ผู้จัดทำ
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมการเมือง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
การเตรียมความพร้อมสำหรับการเก็บเกี่ยว
เรื่อง : เหตุการณ์การก่อการร้าย
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
การปฏิวัติฝรั่งเศส.
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
ศาสนาในประเทศไทย.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอนครู ธีระพล เข่งวา
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
Moses ศาสดาของศาสนายิว
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ศาสนาคริสต์.
ศาสนาคริสต์.
ก. ประธานาธิบดีแฮรี่ เอช ทรูแมน ข. ประธานาธิบดีธอมัส วูดโรว์ วิลสัน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ความสัมพันธ์ ปัญหาระหว่างไทยกับกัมพูชา: ผลกระทบต่อความร่วมมือระหว่างประเทศ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา.
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
ประเภทของศาสนา ศาสนาเบื้องต้น อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย
ประเทศมาเลียเชีย 10 ประเทศอาซียน
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
ครูจงกล กลาง ชล 1. วิเคราะห์แนวคิด เกี่ยวกับ เหตุการณ์ที่ ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในแต่ ละช่วงสมัย ที่มีผลต่อ พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ ไทยได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง.
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ศาสนายิว ก. ความหมาย ๑. ยูดาร์ ภาษาอังกฤษว่า Judalism กรีกว่า Judai
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความขัดแย้งระหว่าง อิสราเอล-อาหรับ 2/2550 /40106/P1 phanvipa

ธงชาติของอิราเอลและอาหรับ

เป็นความขัดแย้ง ระหว่าง - ชนชาติสองชนชาติ - อุดมการณ์สองอุดมการณ์ - ศาสนาสองศาสนานั้นใกล้ชิดกัน 

ความเป็นมา ชาวอิสราเอลหรือชาวฮิบรูเดิมอาศัยอยู่แถบที่เรียกในคัมภีร์เก่าว่า คานาอา ใน หุบเขาทางภาคเหนือ แล้วขยายดินแดนมารุกราน ชาวปาเลสไตน์ซึ่งอยู่ตามแนวฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เกิดความแห้งแล้ง อพยพไปยังอียิปต์ อพยพกลับมายังดินแดนเดิมโดยโมเสส

เส้นทางที่โมเสสพาชาวยิว อพยพจากอียิปต์มายังcanaan

อาณาจักรยิวแบ่งเป็น 2 อาณาจักร อิสราเอล มีเมืองหลวงชื่อ สมาเรีย จูดาห์ มีเมืองหลวงชื่อ เยรูซาเลม พระเจ้าโซโลมอน

อัสซีเรียรุกราน อิสราเอล บาบิโลเนียนรุกราน จูดาห์ กวาดต้อนยิวไปเป็นทาส สมัยพระเจ้าไซรัสของเปอร์เซีย ให้ยิวกลับไปยังดินแดนเดิม ปกครองตนเอง

โรมมันรุกราน ทำลายกรุงเยรูซาเลม ชาวยิวจำนวนมาก อพยพไปจากปาเลสไตน์ ศตวรรษที่ 7 ศาสนาอิสลามแผ่ไปยังยุโรป มุสลิมปกครอง ปาเลสไตน์ ถึงค.ศ. 1071 ประชากรส่วนใหญ่คืออาหรับที่นับถือศาสนาอิสลาม

อิสราเอล 1. ความเชื่อของชาวยิวที่ว่า พระผู้เป็นเจ้าทรงสัญญาว่าจะมอบดินแดนนี้ ให้ 2. การที่ชาวยิวต้องกระจัดกระจายไปอยู่ในประเทศต่างๆ ก็ยิ่งทำให้เกิดกระตือรือร้นที่จะกลับมายังดินแดนนี้มากขึ้น ต่อมาความเชื่อนี้ได้กลายเป็นขบวนการทางการเมือง และอุดมการณ์ ซึ่งมีชื่อว่า ไซออนนิสม์

ไซออนนิสม์ ขบวนการการเมืองของชาวยิว วัตถุประสงค์ คือ จะผูกพันชาวยิวในโลกไว้ด้วยพันธะด้านเชื้อชาติ ให้กลายเป็นชนชาติที่ยิ่งใหญ่ โดยมีศูนย์กลางทางการเมือง และวัฒนธรรมอยู่ที่รัฐอิสราเอลตั้งโดย นายธีโอดอร์ เฮิร์ซล์ ชื่อภูเขา ในดินแดนปาเลสไตน์

ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 อังกฤษต้องการให้ยิวช่วยเหลือในการทำสงครามจึงประกาศว่าเห็นชอบที่จะให้จัดตั้งประชาคมชาวยิวในดินแดนปาเลสไตน์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหประชาชาติมีมติให้แบ่งดินแดนปาเลสไตน์เป็น 2 รัฐ คือรัฐยิวและรัฐอาหรับ

ปัญหาการปกครองดินแดน การแบ่งดินแดนอย่างไม่ยุติธรรม โดยชาวอาหรับได้ดินแดนอยู่เพียงร้อยละ43 ชาวยิวได้ดินแดนที่อุดมสมบูรณ์กว่า ดินแดนที่ชาวอาหรับได้รับล้วนแต่เป็นภูเขาและทะเลทรายทำการเพาะปลูกได้ยาก

รัฐยิวเป็นประเทศเอกราชในวันที่ 14 พ.ค. 1948 เรียกว่าประเทศอิสราเอล นายเดวิด เบนกูเรียนเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของอิสราเอล

เกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างชาวอาหรับกับชาวยิวกลายเป็นสงครามระหว่างยิวกับประเทศอาหรับ 4 ประเทศคือปาเลสไตน์ อียิปต์ ซีเรีย และเลบานอนขึ้น

สงครามยิว - อาหรับ !!26 ต.ค.1956  อิสราเอลโจมตีไซนาย กรณีกาซา  ! 15 พ.ค.1948 4 ประเทศ โจมตีอิสราเอล !!! 5-10 มิ.ย.1967 สงคราม 6 วัน !!!! 1973 สงครามยมคิปปูร์อียิปต์และซีเรียเข้าโจมตีอิสราเอล

สงคราม 6 วัน ค.ศ. 1967 กลุ่มประเทศอาหรับได้โจมตีอิสราเอล แต่อิสราเอลสามารถยึดดินแดน คาบสมุทรไซนาย ฉนวนกาซา จากอียิปต์ ที่ราบสูงโกลันจากซีเรีย ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดน  นครเยรูซาเล็มฝั่งตะวันออก ซึ่งดินแดนทั้งหมดอยู่ภายใต้การดูแลของอิสราเอลจนถึงปัจจุบัน 

ปี ค.ศ. 1979 อียิปต์และอิสราเอล ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพตามข้อตกลง Camp David Accords ทำให้ชาติอาหรับไม่พอใจ ข้อตกลงนั้นเกี่ยวกับการถอนกำลังออกจากแหลมไซนาย

แหลมไซนาย ช่วง1974-1982

นายกรัฐมนตรีเอฮุด โอลเมิร์ตของอิสราเอล ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช และประธานาธิบดีมาห์มูด อับบาสของปาเลสไตน์

ประธานาธิบดี มาฮ์มุด อับบาส ปาเลสไตน์ และนายกรัฐมนตรี เอฮุด โอลเมิร์ต อิสราเอล

เหตุผลของการรื้อถอนนิคม ชาวยิวจากฉนวนกาซา 1. ความมั่นคงปลอดภัยของชนกลุ่มน้อยชาวยิวในฉนวนกาซา 2. ดินแดนแห่งนี้ไม่ได้มีความสำคัญ หรือมีคุณค่าทางยุทธศาสตร์การทหารต่ออิสราเอล 3. อิสราเอลให้ความสำคัญกับเวสต์แบงก์มาก โดยอิสราเอลกลับเร่งดำเนินการสร้างนิคมชาวยิวและทำถนนหนทางเพิ่มมากขึ้นในเขตเวสต์แบงค์ เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดใน ค.ศ. 2005

แผนที่ดินแดนชาวปาเลสไตน์

แผนที่ประเทศอิสราเอล ค. ศ. 2007 จาก www. lib. utexas แผนที่ประเทศอิสราเอล ค.ศ. 2007 จาก www.lib.utexas.edu/maps/gazastrip.html