อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative ) ค่าความชันของ function จุดวิกฤติของ function ทดสอบ function ว่าเป็น ฟังก์ชันเพิ่ม หรือ ฟังก์ชันลด ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ และค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์
จุดวิกฤติ ( Critical Point) ค่า x ที่ทำให้ f'(x) = 0 หรือ หาค่าไม่ได้
จุดวิกฤติ ( Critical Point) 1. หาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f'(x) 2. นำค่าที่ได้เท่ากับศูนย์ f'(x) = 0 3. หาคำตอบของสมการ x = a , b , … 4. ค่าของคำตอบที่ออกมาของค่า x คือค่าวิกฤติ หรือ Critical Value 5. นำค่า x ที่เป็นค่าวิกฤตินั้นไปแทนค่าในฟังก์ชัน f(a) , f(b) , …
ทดสอบ function ถ้า f'(x) < 0 แสดงว่าช่วงนั้นเป็นฟังก์ชันลด
ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ ค่าของจุดวิกฤติ ที่ทำให้ มีค่าน้อยที่สุดเราจะเรียกว่า ค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ ค่าของจุดวิกฤติ ที่ทำให้ มีค่ามากที่สุดเราจะเรียกว่า ค่าสูงสุดสัมพัทธ์
ค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ ค่าของจุดวิกฤติและค่าขอบของช่วงปิด ที่ทำให้ มีค่าน้อยที่สุดเราจะเรียกว่า ค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ ค่าของจุดวิกฤติและค่าขอบของช่วงปิด ที่ทำให้ มีค่ามากที่สุดเราจะเรียกว่า ค่าสูงสุดสัมบูรณ์
อนุพันธ์อันดับสอง ( Second Derivative ) ความโค้งเว้าของกราฟของฟังก์ชัน ทดสอบหาค่าสูงสุดต่ำสุดได้
กราฟเว้าบน เว้าล่าง กราฟเว้าบน : เส้นโค้ง อยู่บน เส้นสัมผัส กราฟเว้าล่าง : เส้นโค้ง อยู่ล่าง เส้นสัมผัส
การทดสอบกราฟเว้าบน เว้าล่าง หาอนุพันธ์อันดับสองของฟังก์ชัน f‘’(x) นำค่าที่ได้ เท่ากับศูนย์ f‘’(x) =0 หาคำตอบของสมการ x = m , n , … จากนั้นนำค่าบริเวณใกล้เคียงมาแทนค่า ถ้า f ''(x) > 0 แสดงว่าเป็นกราฟเว้าบน ถ้า f ''(x) < 0 แสดงว่าเป็นกราฟเว้าล่าง
ขั้นตอนการวาดกราฟ หาเส้นกำกับแนวราบ ดิ่ง หาจุดตัดแกน X แกน Y หาช่วงที่ฟังก์ชันนั้นเป็น ฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด หาค่าสูงสุด และค่าต่ำสุด สัมพัทธ์ หาความ โค้งเว้า ของกราฟ พร้อมทั้งหา จุดเปลี่ยนเว้า นำข้อมูลทั้งหมดมาสร้างเป็นกราฟ
กฎของโลปิตาล (L’hospital’s Rules) รูปแบบยังไม่กำหนด กลุ่ม 1 : กลุ่ม 2 : กลุ่ม 3 : Note : เวลาทำโจทย์จะทำ 2,3 ให้อยู่ในรูป 1
กฎของโลปิตาล (L’hospital’s Rules) ทฤษฎีบท ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิดที่มี a อยู่ โดยที่ g(x) ไม่เป็นศูนย์ทุกค่าของ x ในช่วงเปิดนี้ยกเว้นที่ x = a ถ้า หรือ แล้ว
อนุกรมเทย์เลอร์ และ อนุกรมแมคคลอริน (Taylor series and McClaurin series) ฟังก์ชันใดๆ ที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ไม่จำกัดจำนวนครั้งสามารถนำมาเขียนอยู่ในรูป อนุกรมกำลังได้ ซึ่งเราจะเรียกเขียนฟังก์ชันนั้นรอบจุด x = a ได้ในรูปของ อนุกรมเทย์เลอร์ = ถ้า a = 0 แล้ว จะได้ อนุกรมแมคคลอริน