ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H. ประชากรและตัวอย่าง ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
Population Research Question Target Population Eligibility Criteria Study Population Sampling Sample Allocation Control Group Experiment Group
Probability Sampling Simple random sampling Systematic sampling Stratified random sampling Cluster sampling and multistage sampling
Non Probability Sampling Convenience sampling (Accidental) Quota sampling Purposive sampling Snowball sampling
วิธีการคัดเลือก จุดแข็ง จุดอ่อน Probability Sampling Simple Random ทุกหน่วยมีโอกาสได้รับการคัดเลือกเท่ากัน นำข้อมูลย้อนกลับไปสู่ประชากรได้ ต้องมี Sampling Frame ที่สมบูรณ์ Systematic เรียงลำดับหน่วย ทำได้ง่าย Stratified แบ่งเป็นกลุ่มแล้วสุ่มจากแต่ละกลุ่ม ได้ตัวแทนจากทุกกลุ่ม Frame แต่ละกลุ่ม Cluster เช่นเลือกคนเดียวในครัวเรือนเป็นตัวอย่าง ไม่ต้องมี Sampling Frame Standard Error สูง Multistage จากจังหวัดเป็น อำเภอ ตำบล
Convenience sampling (Accidental) เช่นเลือกจากคนไข้ทั้งหมดที่มาตรวจ แต่คนที่ไม่ได้มาตรวจเพราะฐานะยากจนหรืออยู่ไกลก็ไม่มีโอกาสได้รับการคัดเลือก จะนำไปขยายผลกลับไปสู่ประชากรของประเทศย่อมไม่ได้
Quota sampling เลือกโดยกำหนดจำนวนไว้ก่อน เช่นเลือกจากออาสาสมัคร โดยแบ่งออกเป็นชั้นๆ (Strata) แล้วเลือกมาจากแต่ละชั้นโดยไม่ได้สุ่มตัวอย่าง
Purposive sampling เลือกเฉพาะที่มีลักษณะพิเศษมาศึกษา เช่น โครงการอยุธยา ศึกษาทดลอง Primary Care ทำไมจึงเป็นอยุธยา เพราะเลือกอย่างเจาะจงต้องการให้เป็นชนบท การคมนาคมสะดวก ไม่ไกลจาก กทม.
Snowball sampling คนที่ 1 แนะนำชื่อคนที่ 2 คนที่ 2 แนะนำชื่อคนที่ 3 จนครบตามจำนวนที่กำหนด
การกระจายตัวอย่างเป็นกลุ่มควบคุมกลุ่มทดลอง การจัดสรรแบบสุ่ม (Randomization) เช่น โยนเหรียญ การจับสลาก การจัดสรรแบบบล็อก (Block Randomization) เช่น กลุ่มควบคุม=C กลุ่มทดลอง=E จัดเรียงเป็น CCEE, CECE, CEEC, EECC, ECEC, ECCE จัดแบบแบ่งชั้น (Stratified allocation) เช่นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ แบ่งเป็น Duke’s A,B,C ก่อนแล้วจัดสรรแบบสุ่มต่อไป จัดแบบ Minimization โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์