ลำโพง (Loud Speaker).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางสาว เบญจมาศ ณารัตน์ เสนอ อาจารย์ ไพรศิลป์ ปินทะนา
Advertisements

พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ENCODER.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
หม้อแปลง.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
การสื่อสารประเภทวิทยุ
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
หลอดไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
Principles of Communications Chapter 5 Communication Media
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
ซ่อมเสียง.
การหักเหของแสง (Refraction)
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
การบันทึกเสียง Field trips, guest speakers, projects…
หลักการบันทึกเสียง.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลำโพง (Loud Speaker)

ลำโพง เป็นอุปกรณ์ในภาคเอาท์พุทของเครื่องขยายเสียงทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียง (Audio Frequency) ที่ถูกขยายแล้วให้กลับเป็นคลื่นเสียง (Sound Wave) เหมือนเดิมตามธรรมชาติ

ชนิดของลำโพงแบ่งตามโครงสร้างภายใน ลำโพงริบบอน (Ribbon Speaker) ลำโพงไฟฟ้าสถิต (Electrostatic Speaker) ลำโพงไฮโปลิเมอร์ (Hypolimer Speaker)

ลำโพงไดนามิก(Dynamic Speaker)

ชนิดของลำโพงแบ่งตามโครงสร้างภายนอก ลำโพงตู้ (Cabinet Speaker)

ลักษณะภายในของ ตู้ลำโพงและลำโพง

ลำโพงปากแตร (Horn)

แบ่งตามลักษณะการตอบสนองความถี่ของคลื่นเสียง เสียงทุ้มหรือ วูฟเฟอร์ (Woofer) เสียงกลางหรือมิดเรนจ์ หรือสควอเกอร์ (Midrange or Squawker) เสียงแหลมหรือทวีตเตอร์ (Tweeter) เสียงเต็มช่วงคลื่น หรือฟุลเรนจ์ (Full Range)

แบ่งตามสถานที่ติดตั้ง ภายในอาคาร (Indoor Speaker)

ภายนอกอาคาร (Outdoor Speaker) ทั้งภายนอก และ ภายในอาคาร (Sound Column)

แบ่งตามค่าความต้านทาน (Impedance) 4 โอห์ม เป็นลำโพงไดนามิกขนาดเล็กใช้ในเครื่องรับวิทยุหรือเครื่องเล่น-บันทึกเสียง 8 โอห์ม ส่วนมากเป็นลำโพงตู้ที่ประกอบเป็นชุดและมีขั้วให้ต่อกับเครื่องขยายเสียงที่ใช้ตามบ้าน หรือสำนักงาน 16 โอห์ม มักเป็นลำโพงปากแตรสำหรับใช้งานนอกสถานที่

การต่อลำโพงเข้ากับเครื่องขยายเสียง จะต้องต่อให้สมดุล หรือ เข้าชุดกัน(Matching) 2 ประการ คือ ด้านกำลัง (Power) จำนวนวัตต์ของลำโพงแต่ตัวรวมกัน ควรเท่ากันหรือใกล้เคียงกับจำนวนวัตต์ของเครื่องขยายเสียง วัตต์ของเครื่องขยาย จำนวนลำโพง วัตต์ของลำโพง = ด้านความต้านทาน (Impedance) ค่าความต้านทานของลำโพงจะต้องเท่ากับค่าความต้านทานทางด้านเอาท์พุทของเครื่องขยายเสียง

ต่อกับลำโพง 1 ตัว 4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 4โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 4 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 4 8 โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 8 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 8 16 โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 16 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 16

ขั้ว 0 หรือ C จะเป็นขั้วร่วมของลำโพงทุกตัว ต่อกับลำโพง 1 ตัว 4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 4โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 4 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 4 8 โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 8 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 8 16 โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 16 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 16

ต่อกับลำโพงตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป ต่อแบบอนุกรม 4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. หาค่าความต้านทานรวมได้จากสูตร R รวม = R1 + R 2 + R 3 …… R n ค่าความต้านทานรวมที่ได้คือ 16 โอห์ม จึงต่อเข้าที่ ขั้ว 0 กับ 16 ถ้าลำโพงตัวใดขาดลำโพงตัวอื่นจะไม่ดังด้วย ถ้าค.ต.ท.ของลำโพงเท่ากันทุกตัว จะให้กำลังออกเท่ากัน และตัวใดมีค.ต.ท.มากกว่าจะให้กำลังออกมากกว่า

ต่อแบบขนาน หาค่าความต้านทานรวมได้จากสูตร + ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 1 ….. 4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. R n 1 = ….. R รวม R 2 R 1 R 3 + ต่อแบบขนาน ความต้านรวมเท่ากับ 8 โอห์มจึงต่อเข้าที่ขั้ว 0 กับ 8 ถ้าลำโพงตัวใดขาดตัวอื่นจะยังทำงานปกติ ถ้าค.ต.ท.ของลำโพงเท่ากันทุกตัว จะให้กำลังออกเท่ากัน และตัวใดมีค.ต.ท.ต่ำกว่าจะให้กำลังออกมากกว่าตัวสูง

ต่อแบบผสม ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 4 8 16 70V 100V คำนวณหาค่าค.ต.ท.รวมของลำโพงแบบอนุกรมก่อนแล้วจึงมาคำนวณหาค่าค.ต.ท.ทั้งหมดแบบขนาน จากรูปจะได้ค่าค.ต.ท.รวมเป็น 8 โอห์มจึงต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 8

การต่อกับลำโพงระยะไกล(สาธารณะ) ด้วยการส่งแรงดันของสัญญาณขนาด 70 หรือ 100 โวลท์จากภาคเอาท์พุทของเครื่องขยายเสียงไปยัง Matching หรือ Line transformer เพื่อลดแรงดันให้พอดีกับขนาดของลำโพงและส่งเข้าลำโพงเป็นเสียงต่อไป 16 70v 8 4 100v Matching transformer 4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 8

ข้อควรปฏิบัติสำหรับการใช้ลำโพง ต้องให้ค่า Impedance รวมของลำโพงเท่าหรือใกล้เคียงกับค่าความต้านทานที่ขั้วต่อลำโพงของเครื่องขยายเสียง ค่ากำลังขับ (Watts) ของลำโพงควรเท่าหรือใกล้เคียงกับกำลังขยายของเครื่องขยายเสียง ไม่ควรน้อยกว่าจะทำให้ลำโพงขาดเมื่อเร่งความดัง ควรเลือกขั้วต่อสำหรับไลน์เอาท์พุทกับการติดตั้งลำโพงระยะไกลให้เหมาะกับระยะทางระหว่างเครื่องขยายเสียงกับลำโพง ไม่ควรวางลำโพงไว้หน้าไมโครโฟนจะทำให้สัญญาณย้อนกลับเกิดเสียงหอน (Feedback)

ควรตั้งตู้ลำโพงให้สูงในระดับเดียวกับหูของผู้ฟัง ในกรณีที่มีลำโพงหลายตัวในตู้เดียวกันควรใช้วงจรแยกความถี่เสียง(Cross Over Network) จะได้เสียงที่มีคุณภาพดีขึ้น การต่อลำโพงเข้ากับเครื่องขยายเสียงอย่าให้สายลำโพงแตะถึงกันจะทำให้เครื่องขยายเสียงเกิดการลัดวงจรเสียหายได้ สายลำโพงที่ใช้ควรมีขนาดโตพอเพื่อป้องกันการสูญเสียของสัญญาณจากความต้านทานของสายที่มีขนาดเล็ก อย่าให้ลำโพงตกหรือกระแทกกับพื้น