เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
หลักการของอัลตร้าโซนิก เครื่องทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิก Ultrasonic Cleaning Machine Mahanakorn University of Technology บทนำ โครงงานนี้เป็นการออกแบบสร้างเครื่องทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิกและศึกษากระบวนการทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิกซึ่งเป็นที่นิยมกันอย่า
Chapter5:Sound (เสียง)
วงจรลบแรงดัน (1).
Mid-Term & Assignment สุริยา วิทยาประดิษฐ์ EEET0470
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
การแกว่ง ตอนที่ 2.
ระบบการสื่อสารข้อมูล
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
ลำโพง (Loud Speaker).
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
1. งานบริการเคเบิ้ลทีวี 2. งานบริการโทรทัศน์วงจรปิด
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
วัสดุไม่ตีพิมพ์.
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
บล็อกไดอะแกรมภาคจูนเนอร์
หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ.
การสื่อสารประเภทวิทยุ
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
ปัญหาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ซ่อมเสียง.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
Electronic Circuits Design
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
การบันทึกเสียง Field trips, guest speakers, projects…
หลักการบันทึกเสียง.
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา รศ.ประทิน คล้ายนาค คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร

เนื้อหาเกี่ยวข้องกับ เสียง คุณภาพของเสียง และ ระบบของเสียง เครื่องขยายเสียง และ อุปกรณ์การขยายเสียง แผ่นเสียง และ เครื่องเล่นแผ่นเสียง เทป และ เครื่องบันทึกเสียง CD และ VCD

Audire Audio เกี่ยวข้องกับ การฟังและการได้ยิน ช่วงคลื่นความถี่ที่หูของคนเราสามารถรับฟังได้ คือ 20 - 20,000 Hz. การทำให้เกิดเสียงดังขึ้น การบันทึกเสียง และการทำให้เกิดเสียงซ้ำ

เสียง (Sound) คือพลังงานรูปหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการสั่นสะเทีอนของวัตถุที่เป็นต้นกำเนิดเสียง แล้วอัดหรือผลักดันอากาศให้เป็นคลื่นออกไปรอบทิศทางซึ่งเราเรียกว่าคลื่นเสียง (Sound Wave or Audio wave)

อัตราเสียงรบกวน คือ ค่า S/N Ratio คุณภาพของเสียง สิ่งที่ทำให้คุณภาพของเสียงจากเครื่องเสียงจะดีหรือไม่ ได้แก่ เสียงรบกวน (Noise) จากการออกแบบวงจรภายในเครื่อง เสียงฮัมจากไฟ AC เสียงรบกวนจากภายนอก เช่นมอเตอร์ เสียงซู่ซ่าของสัญญาณ อัตราเสียงรบกวน คือ ค่า S/N Ratio

คุณภาพของเสียง(ต่อ) เสียงเพี้ยน (Hysterisis) เสียงสูงหรือเสียงต่ำหายไป เสียงบิดเบี้ยว (จูนรับไม่ตรงสถานี) เสียงอู้อี้ (หัวเทปสกปรก) เสียงเพี้ยน อัตราเสียงเพี้ยน = X 100 เสียงบริสุทธิ์

ระบบเสียง (Sound System) MONO - Mono Phonic Sound System เป็นระบบเสียงที่มีทิศทางของเสียงหรือสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียงทางเดียว เช่นระเสียงสาธารณะ ระบบเสียงของโทรทัศน์ ต้นกำเนิดเสียง Mic Amp. Loud Speaker

STEREO - Stereo Phonic Sound System เป็นระบบเสียงที่มีทิศทางของเสียงหรือสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียงตั้งแต่สองทิศทางขึ้นไป อาจเป็นสามทาง สี่ทาง หรือมากกว่า ต้นกำเนิดเสียง 1 Mic Amp. Loud Speaker R ต้นกำเนิดเสียง 2 L

Stereo Multiplex มักใช้กับเครื่องส่งและเครื่องรับวิทยุ ที่ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับมีเพียงชุดเดียวแต่สามารถส่งและรับคลื่นวิทยุได้สองทิศทาง HIFI - High Fidelity เป็นคุณสมบัติของอุปกรณ์เครื่องเสียงที่ให้เสียงเหมือนเสียงจริงหรือเสียงเหมือนธรรมชาติจากแหล่งกำเนิด

ระบบขยายเสียง หมายถึง ระบบการเพิ่มกำลังความดังของเสียง เพื่อให้ผู้ฟังจำนวนมากสามารถได้ยินอย่างชัดเจน ทั่วถึง อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ขยายคือเครื่องขยายเสียง โดยจะรับสัญญาณมาจากไมโครโฟนหรือเครื่องเสียงอื่น ๆ มาขยายให้แรงขึ้น เช่น จาก 1 - 3 มิลิโวลท์ เป็น 30 โวลท์ พอที่จะทำให้ไดอะแฟรมของลำโพงสั่นสะเทือนเกิดเป็นเสียงดังขึ้น

องค์ประกอบของ ระบบขยายเสียง ภาครับสัญญาณเข้า (Input Signal) อุปกรณ์ได้แก่ ไมโครโฟน หรือ เครื่องเสียงอื่น ๆ ภาคขยายสัญญาณ อุปกรณ์คือ เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ภาคส่งสัญญาณออก (Output Signal) อุปกรณ์คือ ลำโพง