ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
ครั้งที่ 8 Function.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษา C++
Department of Computer Business
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
Structure Programming
Function.
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ฟังก์ชั่น function.
ฟังก์ชัน (Function).
ครั้งที่ 7 Composition.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
C Programming Lecture no. 6: Function.
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การสร้างฟังก์ชั่นเพื่อพัฒนาโปรแกรม Interactive C
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
C language W.lilakiatsakun.
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
Week 2 Variables.
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Recursion การเรียกซ้ำ
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
Output of C.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Function ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. What is a function ฟังก์ชันในภาษา C เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ฟังก์ชันจะเปลี่ยน input.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน

ฟังก์ชัน (function) ฟังก์ชันคือการแยกชุดคำสั่งที่มีลักษณะจุดมุ่งหมายในการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาเขียนเป็นโปรแกรมย่อย ประโยชน์ของฟังก์ชัน ทำให้โปรแกรมหลักมีการแบ่งงานที่ชัดเจนในแต่ละส่วน จึงทำให้โค้ดของโปรแกรมอย่างเข้าใจได้ง่าย สามารถนำส่วนโค้ดเดิมกลับมาใช้กับส่วนงานใหม่ได้ เพิ่มความยืดหยุ่นในการทำงาน

ฟังก์ชันหลัก ปรกติในโปรแกรมภาษาซีจะต้องมีฟังก์ชันอย่างน้อยหนึ่งฟังก์ชันคือฟังก์ชันหลักเพื่อเป็นจุดตั้งต้นในการทำงาน #include <stdio.h> main() { printf(“This is the main function.\n”); }

ชนิดของฟังก์ชัน ฟังก์ชันที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง เป็นฟังก์ชันที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องการให้มีการทำงานเฉพาะกิจบางอย่างที่ไม่มีอยู่ในฟังก์ชันมาตรฐาน ซึ่งในภาษาซีมีกลไกที่ยอมให้มีการเขียนฟังก์ชันขึ้นใช้งานเองในโปรแกรม ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันที่มีมาพร้อมตัวแปรภาษาซึ่งอาจจะเรียกว่า library ก็ได้

การนิยามฟังก์ชัน การนิยามฟังก์ชัน ควรนิยามไว้ก่อนการเรียกใช้ฟังก์ชัน <type> <func-name>(<parameter-list>) { <variable-definition>; <statement-list>; } <type> ชนิดข้อมูลที่ส่งค่ากลับ ถ้าไม่มีการส่งค่ากลับให้ใส่ void <func-name> ชื่อฟังก์ชันตั้งตามหลัก identifier <parameter-list> ค่าข้อมูลที่รับส่งระหว่างฟังก์ชันและตัวเรียกซึ่งอาจจะไม่มีก็ได้

ตัวอย่างฟังก์ชันแบบไม่คืนค่าและไม่มีพารามิเตอร์ ตำแหน่งที่นิยามฟังก์ชันจะต้องอยู่ก่อนการเรียกใช้ฟังก์ชัน #include <stdio.h> void greeting(){ printf(“Sawasdee\n”); } void main(){ greeting(); function definition function main คำสั่งเรียกใช้ฟังก์ชัน

ตัวอย่างฟังก์ชันแบบคืนค่าและไม่มีพารามิเตอร์ ฟังก์ชัน pi ไม่มีข้อมูลในวงเล็บ มีการคืนค่าเป็นชนิดข้อมูล float ภายในฟังก์ชันต้องมีคำสั่ง return #include <stdio.h> float pi(){ return 3.14; } void main(){ float r = 7; float a = 2.0*pi()*r; printf(“area is %f”,a); เรียกฟังก์ชัน

ตัวอย่างฟังก์ชันแบบไม่คืนค่าและมีพารามิเตอร์ ภายในวงเล็บจะมีพารามิเตอร์ เป็นการประกาศว่าต้องการนำข้อมูลชนิดและชื่อเข้ามาดำเนินการ การเรียกใช้จะต้องมีการใส่ค่าพารามิเตอร์ให้ถูกต้องทั้งชนิดและจำนวน #include <stdio.h> void line(int n){ for(i=0;i<n;i++) printf(“-”); printf(“\n”); } void main(){ int a = 10; line(5); line(a); เรียกฟังก์ชัน

ตัวอย่างฟังก์ชันแบบคืนค่าและมีพารามิเตอร์ ภายในวงเล็บจะมีพารามิเตอร์ เป็นการประกาศว่าต้องการนำข้อมูลชนิดและชื่อเข้ามาดำเนินการ การเรียกใช้จะต้องมีการใส่ค่าพารามิเตอร์ให้ถูกต้องทั้งชนิดและจำนวน #include <stdio.h> int factorial(int n){ for(i=s=1;i<n;i++) s += i; return s; } void main(){ int a = 10; printf(“%d\n”,factorial(5)); b = 2*factorial(a); Printf(“%d\n”,b);

โปรโตไทป์ ปรกติการนิยามฟังก์ชันจะต้องอยู่ก่อนถูกเรียกใช้ แต่เราสามารถกำหนดนิยามฟังก์ชันเพื่อให้ทุกฟังก์ชันในโปรแกรมรู้จักก่อนได้โดยใช้ “โปรโตไทป์” รูปแบบการเขียนโปรโตไทป์ return-type function-name(parameter-list); void greeting(); void line(int n); float pi(); int factorial(int);

ขอบเขตของตัวแปร ตัวแปรแบบโกลบอล global variable เป็นตัวแปรที่สามารถถูกใช้งานได้ตลอดทั้งโปรแกรม ในทุกๆ ฟังก์ชัน ตัวแปรแบบโลคอล local variable เป็นตัวแปรที่มีขอบเขตการใช้งานได้ภายในฟังก์ชันที่ตัวแปรนี้ถูกนิยามเท่านั้น

ขอบเขตของตัวแปร ตัวแปร rad เป็นโกลบอล ตัวแปร a เป็นโลคอล #include <stdio.h> int rad; void main(){ int a; rad = 7; a = 2*3.14*rad; printf(“a = %d\n”,a); } ตัวแปร rad เป็นโกลบอล ตัวแปร a เป็นโลคอล

ขอบเขตของตัวแปร #include <stdio.h> float db = 2.0; float calc(float x){ float r = x*db; return r; } void main(){ int a; db = 7.0; a = calc(1.2); printf(“a = %d\n”,a); ตัวแปร db เป็นตัวแปรที่สามารถถูกเรียกใช้ได้จากทุกฟังก์ชัน ตัวแปร r ถูกเรียกใช้ได้ในฟังก์ชัน calc เท่านั้น ตัวแปร a ถูกเรียกใช้ได้ในฟังก์ชัน main เท่านั้น

ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันสำเร็จรูปที่ผู้ผลิตตัวแปรภาษาซีได้สร้างไว้ให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้งานได้เลย ซึ่งผู้ใช้ต้องทราบว่าตัวฟังก์ชันได้ถูกสร้างมาเป็นกลุ่ม ต้องรู้ว่าอยู่ที่ไฟล์ .h ใด แล้วทำการ #include มาใช้งานได้

ตัวอย่างไฟล์ header math.h เป็นกลุ่มฟังก์ชันใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ string.h เป็นกลุ่มฟังก์ชันใช้ในการทำงานกับข้อความ ctype.h เป็นกลุ่มฟังก์ชันใช้ในการทำงานกับตัวอักษร conio.h เป็นกลุ่มฟังก์ชันใช้ในการทำงานกับหน้าจอ

งานที่ให้ทำ จงเขียนฟังก์ชันหาค่า y จากการคำนวณสมการต่อไปนี้ โดยให้เป็ฟังก์ชันที่มีการคืนค่าและรับพารามิเตอร์ด้วย