วิตามินบี 12 (Cobalamin)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
~ ชาเขียว ~.
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
โรคเอสแอลอี.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
Myasthenia Gravis.
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
น.ส. ชุติกาญจน์ จิรตระกูลพรหม คณะวิทยาศาสตร์
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
ผลไม้ลดความอ้วน.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
อาหารเพื่อผิวสวย โดย ฉัตรฤทัย บัวสุข
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
ความเสี่ยงอันตรายจาก
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
กินตามกรุ๊ปเลือด.
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
โรคเบาหวาน Diabetes.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
Foundation of Nutrition
กำมะถัน (Sulfur).
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
เรื่อง ประโยชน์ต่อสุขภาพ ของใบบัวบก
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
10 อันดับน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิตามินบี 12 (Cobalamin)

คุณสมบัติ และหน้าที่ การดูดซึม แหล่งวิตามิน ปริมาณที่ควรได้รับ ผลของการขาดวิตามิน อาการขาดวิตามิน ผลของการได้รับมากเกินไป

คุณสมบัติ วิตามิน บี 12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำและ แอลกอฮอล์ การปรุงอาหารโดยทั่วๆ ไปจะไม่ทำลายวิตามินบี 12 มากนัก แต่จะถูกทำลายได้ง่ายโดยกรด ด่างแก่ และแสงสว่าง

โครงสร้างวิตามินบี 12

หน้าที่ ช่วยให้เหล็กทำงานได้ดีขึ้นในร่างกาย เป็นส่วนสำคัญในการทำงานของระบบประสาท เป็นสิ่งจำเป็นในการเผาผลาญโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต วิตามินบี 12 ช่วยในการสังเคราะห์ DNA และการเจริญเติบโตตามปกติของเซลล์เม็ดเลือดแดง

การดูดซึม ตัวช่วยการดูดซึม แคลเซียมและวิตามินบีอื่นๆ รวมไปถึงวิตามินเอ วิตามินซีและวิตามินอี เหล่านี้ทำงานร่วมกันเพื่อเพิ่มการดูดซึมวิตามินบี 12 เข้าสู่ร่างกาย ตัวยับยั้งการดูดซึม ยาที่ชื่อเมตาฟอร์มิน(ใช้ในการรักษาโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน) ยาคอเลสไทรามีน(ใช้รักษาคอเลสเทอรอลสูง)และยาคุมกำเนิดชนิดรับประทานทั้งหมดล้วนลดการดูดซึมวิตามินบี 12 ยานอนหลับและแอลกอฮอล์ก็มีผลคล้ายคลึงกัน

แหล่งของวิตามินบี 12 หมู เนื้อวัว ผลิตภัณฑ์เนื้อ เนื้อไก่ ปลา หอย กุ้ง

ปริมาณที่แนะนำ ปริมาณที่แนะนำ เด็ก แรกเกิด - 3 ปี 0.3-0.7 ไมโครกรัมต่อวัน 4 - 6 ปี 1.0 ไมโครกรัมต่อวัน 7 - 10 ปี 1.4 ไมโครกรัมต่อวัน วัยรุ่นและผู้ใหญ่ 10 ปีขึ้นไป 2.0 ไมโครกรัมต่อวัน หญิงตั้งครรภ์ 2.2 ไมโครกรัมต่อวัน หญิงให้นมบุตร 2.6 ไมโครกรัมต่อวัน

ผลการขาดวิตามินบี 12        การ ขาดวิตามินบี 12 จะทำให้ไขกระดูกไม่สามารถผลิต เม็ดเลือดแดงให้เจริญเต็มที่ได้ เม็ดเลือดแดงจึงไม่แบ่งตัว และจะ มีขนาดใหญ่ เมื่อเข้าสู่กระแสเลือด จึงนำฮีโมโกลบินไปยังส่วน ต่างๆ ของร่างกายได้น้อยลง ทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดร้ายแรง อาการคือผิวหนังมีสีเหลืองอ่อนๆ คลื่นไส้ หายใจขัด ท้องอืด น้ำหนักลด ลิ้นอักเสบ มีความผิดปกติของระบบประสาท และ เดินไม่ตรงหรือเสียความสมดุลของร่างกาย ทำให้สมองทำงานช้า กว่าปกติ เป็นต้น

อาการขาดวิตามิน B12 ผู้ที่ขาดวิตามินจะมีเล็บสีดำ รู้สึกเสียวซ่าและชาในแขนขา ความหอบ สูญเสียความอยากอาหารท้องเสียและปัญหาระบบทางเดินอาหารอื่นๆ ผิวอ่อน, จุดอ่อนและความเหนื่อยล้า ผู้ที่ขาดวิตามินจะมีเล็บสีดำ เจ็บลิ้นและปาก ไม่สามารถคิดอย่างชัดเจนสับสนและสูญเสียความทรงจำ มักจะปวดหน้าด้านหนึ่งในเวลาที่ตามแบบไม่เฉพาะ

อาการขาดวิตามิน B12(ต่อ) กระตุกของหนังตา รู้สึกเสียวซ่าหลังหนึ่งหรือทั้งสองขาแผ่ลง ช็อกประสาทที่สามารถรู้สึกก่อนที่จะนัดด้านหนึ่งของร่างกายเช่นไฟฟ้าช็อต

ผู้ที่ขาดวิตามินจะมีเล็บสีดำ

ทำให้สมองทำงานช้ากว่าปกติ

ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรเสริมวิตามินบี 12 เพราะมีความสำคัญในผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาท วิธีการรักษา ผู้ป่วยโรคโลหิตจางควรรับประทานอาหารที่มีวิตามินบี 12 จะช่วยในการรักษาได้ผลดีขึ้น

ผลของการได้รับวิตามินบี 12 มากเกินไป จะกระตุ้นการสลายตัวของกรดนิวคลีอิก ทำให้กรดยูริกเพิ่มขึ้น จึงควรระวังในผู้ป่วยโรค gout

ผู้จัดทำ 1. นางสาวสโรชา เก่งกาจ B5253494 2. นางสาวณัฐชญา ชวนจิต B5253722 3. นางสาวจิรัฐติกาล งอยตะคุ B5253739 4. นางสาววิไลวรรณ กาบศรี B5253791