ประสบการณ์การบริหารทรัพยากรบุคคลในโรงงานอุตสาหกรรม การจัดองค์กร (ORGANIZATION) ฝ่ายบริหารและบุคคล (Administration and Personnel Depart- ment) 1. ระเบียบข้อบังคับการทำงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ 2. การสรรหาบุคลากร (Selection) - ประกาศรับสมัครงาน - การจ้างงาน
- แหล่งทรัพยากรบุคคล - การสัมภาษณ์งานและการสรรหาบุคลากร - การบรรจุแต่งตั้ง - การปฐมนิเทศน์ - การประเมินผลการทดลองงาน - การพิจารณาความดีความชอบ - การเลื่อนขั้น/ ปรับเงินเดือน - โทษและการลงโทษทางวินัย - การเลิกจ้าง
3. ค่าจ้างเงินเดือน (Wages & Salaries) - ค่าจ้างรายวัน - ค่าจ้างรายเดือน - ค่าจ้างตามผลงาน - ค่าทำงานล่วงเวลา/ ค่าทำงานวันหยุด - การให้รางวัลเพื่อการจูงใจ (Incentive Scheme) - เบี้ยขยัน - โบนัส
4. เวลาการทำงาน (Working Hours) - กฎหมายแรงงานจะกำหนดเวลาการทำงานของ ลูกจ้างโดยทั่วไปวันละ 8 ชั่วโมง (สัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง) และงานที่ต้องทำเกี่ยวกับการผลิตสารเคมีและวัตถุอันต- รายวันละ 7 ชั่วโมง (สัปดาห์ละ 42 ชั่วโมง) - โรงงานที่มีกระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง มักจะแบ่งเวลาทำงานเป็นกะทำงาน เช่น
กะทำงานแรก 07.00 น. - 15.00 น. กะทำงานที่สอง 15.00 น. - 23.00 น. กะทำงานที่สาม 23.00 น. - 07.00 น. กะทำงานปกติ 08.00 น. - 17.00 น. 5. การจัดสวัสดิการพนักงาน (Workers’ Welfare Scheme) - บ้านพัก
- รถรับส่งพนักงาน - ชุดทำงาน - สถานที่รับเลี้ยงเด็ก - โรงอาหาร - ห้องปฐมพยาบาล - สหกรณ์ร้านค้า - สหกรณ์ออมทรัพย์
6. ความปลอดภัยในการทำงาน (Safety at Work) - อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล - ระบบสัญญานแจ้งเหตุเพลิงไหม้และการฝึกซ้อม ดับเพลิง - ระบบน้ำดับเพลิงและเครื่องดับเพลิงในโรงงาน - แผนงานป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประ- กอบการ
- ระบบน้ำดับเพลิงและเครื่องดับเพลิงในโรงงาน - แผนงานป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประ- กอบกิจการ - การตรวจสุขภาพประจำปี - กองทุนเงินทดแทน (กรณีเจ็บป่วยในงาน) - กองทุนประกันสังคม (กรณีเจ็บป่วยนอกงาน)
7. งานรักษาความปลอดภัย (Security Control) - การดูแลทรัพย์สินของบริษัทและลูกจ้าง - ระบบการจัดการจราจร 8. การพัฒนาบุคลากร (Personnel Development) - การปฐมนิเทศน์ - การฝึกอบรมภายใน - การฝึกอบรมภายนอก
9. งานมวลชนและกิจกรรมด้านสังคม (Social Activity) - ที่ตั้งโรงงานและชุมชน - มลภาวะและสิ่งแวดล้อม - กิจกรรมสังคม - งบพัฒนาและการกุศล 10. การแรงงานสัมพันธ์ (Industrial Relations) - สหภาพแรงงาน
- สมาคมนายจ้าง - การยื่นข้อเรียกร้อง - การเจรจาต่อรอง - ข้อพิพาทแรงงาน/ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ - การชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน (Arbitration) - การปิดงานและการนัดหยุดงาน - ข้อตกลงสหภาพการจ้าง
11. ศาลแรงงานกลาง - กระบวนการยุติธรรมในศาลแรงงาน - การฟ้องร้องคดีแรงงาน - แนวทางการพิจารณาและการตัดสินคดีแรงงาน
-คำชี้ขาดเป็นที่สุด ลูกจ้างนัดหยุดงานหรือ นายจ้างปิดงาน ตั้งตัวแทนเจรจา - ไม่มีการเจรจา รัฐมนตรีสั่ง ค.รส. ให้ชี้ขาดมาตรา 35 แจ้งใน 48 ช.ม. ลูกจ้าง, นายจ้าง เป็นข้อพิพาท แรงงาน พนักงานประนอม ข้อพิพาทไกล่เกลี่ย ข้อพิพาทแรงงาน ที่ตกลงกันไม่ได้ 5 วัน -คำชี้ขาดเป็นที่สุด -ยื่นก่อนข้อตกลงฯเดิมสิ้นอายุ ไม่เกิน 60 วัน กิจการตามมาตรา 34 ค.รส. ชี้ขาด ตกลงกันได้ทำ บันทึกข้อตกลง -ค.รส.วินิจฉัยและแจ้ง คู่กรณีใน 60 ว. อุทธรณ์ ต่อ รมต.รส. ใน 7 ว. - รมต.รส.วินิจฉัยอุทธรณ์ ใน 30 ว. 15วัน หมายเหตุ ค.รส.= คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ รมต.รส.= รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรง งานและสวัสดิการสังคม จดทะเบียน ข้อตกลงฯ คู่กรณีตั้งผู้ชี้ขาด หรือเจรจากันต่อไป
VICE PRESIDENT TECHNICAL VICE PRESIDENT COMMERCIAL MANAGER PRODUCTION MANAGER UTILITY MANAGER ELECTRICAL MANAGER ADMIN& PERSONNEL MANAGER ACCOUNT& FINANCE MANAGER INSTRUMENT MANAGER MECHANICAL MANAGER PURCHASE MANAGER STORES
ADMINISTRATION & PERSONNEL DEPT CHIEF PERSONNEL 1 ASSISTANT. MANAGER 1 ADMINISTRATIVE OFFICER 1 PERSONNEL OFFICER 1 SUPERVISOR 1 SUPERVISOR 1 SECURITY (CONTRACTOR) GENERAL AFFAIRS SUPERVISOR 1 CLERK 1 CLERK 1 - Policy - Workrules & discripline - Recruitment - Bio-data - Payrolls, - Time Attendance, - Work Appraisal STAFF = 10 WORKER = 5 MAID = 10, TOTAL = 25 1 23 GUARDS TEL.OPERATOR - Factory Licences - Government Liason - Compensation Fund - Social Security Fund - Taxation - Mill Dispensary (Contractor) - House Keeping Cleaning - Sport Activity/ Recreation - Canteen Facility - Telephone Exchange, (-5 WORKERS), (-10 MAIDS)