ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การศึกษารายกรณี.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
การจัดกระทำข้อมูล.
4. Research tool and quality testing
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
บทที่ 6 Selection กระบวนการพิจารณาคนจำนวนมากให้ เหลือจำนวนเท่าที่องค์การต้องการ Negative Process.
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
วิชาการวิจัยอย่างง่าย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง กระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ (Test Quality Analysis)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ ที่สามารถวัดได้ตรงตาม จุดมุ่งหมายที่ตรงการจะวัด ความตรงตามเนื้อหา (content validity) ความตรงตามโครงสร้าง (construct validity) ความตรงตามสภาพ (concurrent validity) ความตรงตามพยากรณ์ (predictive validity)

ความยุติธรรม (fairness) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ หรือคำถาม ที่ไม่มีช่องแนะให้ เด็กฉลาดใช้ไหวพริบเดาได้ถูกต้อง หรือไม่เปิดโอกาสให้เด็ก เกียจคร้านที่ดูตำราแต่ลวกๆ แล้วตอบได้ ไม่ลำเอียงต่อเด็ก กลุ่มใดโดยเฉพาะ ซึ่งการที่จะออกข้อสอบให้มีความเสมอภาค เช่นนี้ต้องออกข้อสอบให้ครอบคลุมหลักสูตรนั่นเอง

ความลึก (searching) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ หรือคำถาม ที่ไม่ถามแต่ความรู้-ความจำ ตามตำรา แต่จะถามให้ผู้ตอบนำความรู้จากตำรา ไปวิเคราะห์ ไปขยาย และนำไปใช้ เพื่อให้ผู้ตอบต้องใช้สมองคิดจึงจะตอบได้

ความยั่วยุ (exemplary) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ หรือคำถาม ที่มีลักษณะท้าทาย เชิญชวนให้คิด และ ประพฤติปฏิบัติไปตามนั้น เกิดความอยากรู้ เรื่องราวนั้นๆ ให้กว้างต่อไปอีก ซึ่งทำได้โดย การเรียงคำถามจากง่ายไปหายาก ทำให้ผู้สอบ ตื่นเต้นและยั่วยุให้สมองพัฒนาความคิด อันจะเป็นผลสัมฤทธิ์ติดตัวไปในอนาคต

ความจำเพาะเจาะจง (definite) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ หรือคำถาม ที่ผู้ตอบอ่านแล้วต้องเข้าใจแจ่มชัดว่าโจทย์ ถามอะไร หรือให้คิดให้ทำอะไร ซึ่งคำถาม ที่ดีนั้นจะต้องกำหนดทิศทาง ขอบเขตและ ระดับของคำตอบให้ผู้ตอบทราบอย่างแจ่มแจ้ง

ความเป็นปรนัย (objectivity) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ หรือคำถาม ที่มีความชัดเจน รัดกุมและเด่นชัด มีวิธี การตรวจให้คะแนนที่มีมาตรฐาน และ มีการแปลความหมายของคะแนนเป็น พฤติกรรมได้อย่างเดียวกัน ไม่ว่าใครจะ เป็นผู้ปฏิบัติการนี้ก็ย่อมจะได้ผลตรงกัน ตามธาตุแท้ของความสามารถของ ผู้เข้ารับการทดสอบ

ประสิทธิภาพ (efficiency) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ หรือแบบทดสอบ ที่สามารถให้คะแนนที่ตรงและเที่ยงมากที่สุด ภายในเวลาและแรงงานที่น้อยที่สุด

ความยาก (difficulty) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ หรือคำถาม ที่ต้องมีระดับความยากพอเหมาะ คือ ข้อคำถามไม่ยากเกินไป หรือง่ายเกินไป สำหรับผู้เรียน ความยากของข้อสอบ ควรให้อยู่ในระดับกลางคือมีคนตอบถูก ประมาณร้อยละ 50

อำนาจจำแนก (discrimination) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ หรือคำถาม ที่สามารถแยกผู้เรียนที่มีความรู้ดีออกจาก ผู้เรียนไม่ดีได้ กล่าวคือ การจะตอบ คำถามได้ถูกต้องขึ้นอยู่กับความสามารถ ไม่ใช่เป็นการบังเอิญ

ความเที่ยง (reliability) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือ หรือ แบบทดสอบ ที่มีคะแนน ที่ได้จากการวัด มีความแน่นอน คงที่ คงเส้นคงวา สัมประสิทธิ์แห่งความคงที่ (coefficient of stability) สัมประสิทธิ์แห่งความสมมูลย์ (coefficient of equivalence) สัมประสิทธิ์แห่งความคงที่ภายใน (coefficient of internal consistency)