ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

BC421 File and Database Lab
11. การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบเชิงสัมพันธ์
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
HO Session 14: Database Design Principles
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ทำความรู้จักและใช้งาน
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ทบทวน Array.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
Microsoft Access.
Microsoft Access.
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็นโมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
การสร้างตาราง (Table)
Chapter 3 แบบจำลองข้อมูล : Data Models
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล และ Microsoft Access 2003
การแปลง E-R เป็น Table.
ระบบสารสนเทศเพื่อการขายสินค้า ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
3.3.2 การวิเคราะห์ การเรียกใช้ข้อมูล และการทำรายงานจากฐานข้อมูล
Entity Relationship Model
The Relational Data Model
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
Data Modeling Chapter 6.
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
ความสัมพันธ์ (Relationship)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
บทที่ 5 การทำงานกับหลาย Table
โมเดลจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (ER-Diagram)
1. รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
โปรแกรม Microsoft Access
SML Report Designer การออกแบบรายงาน.
CHAPTER 12 SQL.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
งานกลุ่ม กลุ่มที่ 3 เรื่อง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
E-R to Relational Mapping Algorithm
Chapter 1 : Introduction to Database System
แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม MS Access 2013
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database

รูปแบบความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่ม 2.ความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม 3. ความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง สอน อาจารย์ 1 M วิชา ลงทะเบียน นักศึกษา M M วิชา สอบ ประชาชน 1 1 ใบขับขี่รถยนต์

ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เอนทิตี้(Entity) เป็นคำที่อ้างอิงถึงบุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น ถ้าเราสนใจสร้าง ระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า เอนทิตี้ประกอบด้วย เอนทิตี้ลูกค้า ใบสังซื้อ สินค้า แอตทริบิวต์ (Attribute) เป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะของเอนทิตี้ เช่น แอตทิบิวต์ ของเอนทิตี้ลูกค้า หรือนักศึกษา จะมีชื่อ ที่อยู่ และรหัสไปรษณีย์ ส่วนแอตทริบิวต์ของเอนทิตี้ใบสั่งซื้อสินค้า จะมีรหัสใบสั่งซื้อ วันที่สั่งซื้อ ชื่อสินค้า จำนวนสินค้าที่สั่ง และราคาสินค้า ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ต่าง ๆ ใน ระบบ เช่น ในระบบการสั่งซื้อสินค้า จะประกอบด้วยเอนทิตี้ใบสั่งซื้อสินค้า และเอนทิตี้ลูกค้า ซึ่งมีความสัมพันธ์จากลูกค้าไปยังใบสั่งซื้อสินค้า

ส่วนประกอบของเอนทิตี้ และ แอตทิบิวต์และความสัมพันธ์ในระบบฐานข้อมูล

ชนิดของคีย์ 1. Primary Key (คีย์หลัก) จะเป็นฟิลด์ที่มีค่าไม่ซ้ำกันเลยในแต่ละเรคคอร์ด 2. Candidate Key (คีย์คูแข่ง) เป็นฟิลด์หนึ่งหรือหลายฟิลด์ที่พอเอามารวมกนแล้วมีคุณสมบัติเป็น Primary Key (ไม่ซ้ำ) และไม่ได้ถูกใช้เป็นคีย์หลัก เช่น รหัสจังหวัดเป็นคีย์หลัก ส่วนชื่อจังหวัดก็ไม่ซ้ำ เช่นกัน แต่ไม่ได้เป็นคีย์หลักจึงเป็นคีย์คู่แข่ง 3. Composite Key บางตารางหาฟิลด์ไม่ซ้ำไม่ได้เลย จึงต้องใช้หลาย ๆ ฟิลด์มา รวมกันเป็น Primary Key ฟิลด์ที่ใช้รวมกันนี้เราเรียกว่า Composite Key 4. Foreign Key เป็นฟิลด์ใดๆ ในตารางหนึ่ง (ฝั่ง Many) ที่มีความสัมพันธ์กับฟิลด์ ที่เป็น Primary Key ในอีกตารางหนึ่ง (ฝั่งOne) โดยที่ตารางทั้งสองมีความสัมพันธ์แบบ One – to – Many

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

ลักษณะของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 1. ค่าของข้อมูลต้องเป็นค่าที่ไม่สามารถแบ่งแยกออกไปได้อีก เช่น ชื่อ 2. ค่าในแนวตั้ง (Column)หรือฟิลด์ต้องเป็นแบบเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นฟิลด์สำหรับเก็บชื่อต้องเป็นชื่อจริงทั้งหมด ไม่มีชื่อเล่น 3. ชื่อฟิลด์ในตารางเดียวกันจะต้องไม่ซ้ำกัน 4. ต้องกำหนดฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งเป็นดัชนี(Index)หรือเรียกว่ากุญแจหลัก (Primary Key) 5. ข้อมูลในแต่ละแถวหรือระเบียนต้องไม่ซ้ำกันกับแถวอื่น 6. ไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับของข้อมูล

การเปรียบเทียบศัพท์ทั่วไปกับศัพท์เทคนิค ในระบบฐานข้อมูล

คุณสมบัติของแต่ละ Field (Field Properties) Field Size ขนาดของ ตามชนิดที่เลือกไว้ใน Data Type Format รูปแบบของข้อมูลใน Field นั้น ๆ Input Mask รูแปแบบที่ใช้บังคับป้อนข้อมูล เช่น กำหนดให้ป้อนได้เฉพาะตัวเลขได้ไม่เกิน 5ตัวเลข Caption ป้ายชื่อที่ติดแทนชื่อ Field ที่หัวคอลัมน์เมื่อแสดงข้อมูลแบบ Datasheet View Default Value การกำหนดค่าเริ่มต้น Validation Text แสดงกรอบข้อความเมื่อข้อมูลที่ป้อนเข้าไปไม่เป็นไปตามเงื่อนไงที่กำหนดไว้ใน Validation Rule Required กำหนดว่าต้องป้อนข้อมูลหรือไม่ Allow Zero Length กำหนดว่าสามารถป้อนค่าว่าง (Null Value) ได้หรือไม่

ประเภทของข้อมูล

การออกแบบฐานข้อมูล แบบฝึกหัด 1. จงออกแบบตารางฐานข้อมูลมา 2 แบบ 2. กรอกข้อมูลให้ครบตามข้อมูลที่ออกแบบขึ้นมา อย่างน้อย 5 ชุดข้อมูล 3. อธิบายตารางฐานข้อมูลที่ออกแบบมาอย่างย่อ