สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Antiderivatives and Indefinite Integration
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
สับเซตและเพาเวอร์เซต
แผนภาพเวนน์–ออยเลอร์ (Vernn–Euler Diagram)
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
คอมพลีเมนต์ นิยาม คอมพลีเมนต์ของเซต A เขียนแทนด้วย หมายถึง เซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งเป็นสมาชิกของเซต แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Probability & Statistics
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
นายสมศักดิ์ กาทอง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
การดำเนินการของเซต 1. ยูเนียน
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Mathematics for computing I
การหาปริพันธ์ (Integration)
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
ชนิดของเซต เช่น A = เซตว่าง (Empty set or Null set)
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
วงรี ( Ellipse).
We will chake the answer
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์ แทน A เป็นสับเซตของ B ใช้สัญลักษณ์ แทน A ไม่เป็นสับเซตของ B

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ A = { 1 , 3 , 5 } B = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 } ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ A = { 1 , 3 , 5 } B = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 } C = { 2 , 4 , 6 } วิธีทำ จะได้ว่า เพราะสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B เพราะสมาชิกทุกตัวของ C เป็นสมาชิกของ B เพราะ 1 , 3 , 5 ไม่เป็นสมาชิกของ C เพราะ 2 , 4 , 6 ไม่เป็นสมาชิกของ A เพราะ 2 , 4 , 6 ไม่เป็นสมาชิกของ A เพราะ 1 , 3 , 5 ไม่เป็นสมาชิกของ C

ข้อตกลงเกี่ยวกับสับเซต 1. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวเอง นั่นคือ ถ้า A เป็นเซตใด ๆ แล้ว 2. เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต นั่นคือ ถ้า A เป็นเซตใด ๆ แล้ว

การหาจำนวนสับเซต เมื่อ A เป็นเซตจำกัดใดๆ และ A มีจำนวนสมาชิก n ตัว สับเซตของ A จะมีทั้งหมด เซต ตัวอย่างที่ 1 กำหนด A = { a , b } ดังนั้น จำนวนสับเซตทั้งหมดของ A =

ตัวอย่างที่ 2 กำหนด B = { 1 , 2 , 3}

ตัวอย่างที่ 3 กำหนด C = { {1} , {1,2} , 5} 5. { {1} , {1, 2 } } 6. { {1} , 5 } 2. {{1}} 3. {{1 , 2}} 7. { {1, 2 } , 5 } 4. { 5 } 8. { {1} ,{1, 2 } , 5 } หรือ C

เพาเวอร์เซต ( Power Set ) นิยาม เมื่อ A เป็นเซตจำกัดใด ๆ แล้ว เพาเวอร์เซตของ A คือ เซตของสับเซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ P(A) ตัวอย่างที่ 1 กำหนด A = { a , b } จำนวนสับเซตทั้งหมดของ A = ดังนั้น P ( A ) = { , {a} , {b} , {a,b} }

ตัวอย่างที่ 2 กำหนด B = { 1 , 2 , 3 , 4} จำนวนสับเซตทั้งหมดของ B = ดังนั้น P ( B ) = { , {1} , {2} , {3}, {4} , {1,2} , {1,3} , {1,4} , {2,3} , {2,4} , {3,4} , {1,2,3} ,{1,2,4} , {1,3,4} , {2,3,4} , {1,2,3,4} } ตัวอย่างที่ 3 กำหนด C = { {{a}} , {b} , {{c}} } จำนวนสับเซตทั้งหมดของ A = ดังนั้น P ( C ) = { , { {{a}} } , { {b} } , { {{c}} }, { {{a}} , {b} } , { {{a}} , {{c}} } , { {b} , {{c}} } , { {{a}} , {b} , {{c}} } }

แบบฝึกหัด เรื่อง เพาเวอร์เซต แบบฝึกหัด เรื่อง เพาเวอร์เซต 1. A = { 0 , { 1 } } 2. B = { a , {b} , {{c}} } 3. C = { 1 , 2 , {4} , 7 } 4. D = { {{e}} , {f} , {{{g}}} } 5. E = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 }