ขอบเขตการศึกษาของญาณวิทยา (epistemology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน
Advertisements

การเขียนบทความ.
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
• เป็นความจริง เชื่อถือได้ • แตกต่างจากความรู้ เดิม • ใช้ประโยชน์ได้ • เหมาะกับบริบทและ ความต้องการ ของสังคม • เป็นสากล • นำไปสู่การพัฒนา หรือต่อยอด.
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
เราบอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ถ้าท่านมีความเชื่อและไม่สงสัย
กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
Knowledge Management (KM)
การวิจัยการศึกษา.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
Cognitive Development
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การเขียนรายงานการวิจัย
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
กระบวนการวิจัย Process of Research
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
วิธีการคิดวิเคราะห์.
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรม
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขอบเขตการศึกษาของญาณวิทยา (epistemology) ศึกษาเรื่องบ่อเกิดของความรู้ ศึกษาเรื่องธรรมชาติของความรู้ ศึกษาเรื่องขอบเขตของความรู้ ศึกษาเรื่องความสมเหตุสมผลของความรู้

วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ญาณวิทยา เศรษฐศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ศาสนา

บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์ บ่อเกิด / ที่มา จุดเริ่มต้น เหตุผล+ประสบการณ์

สากลและจำเป็น (universal and necessary) ธรรมชาติของความรู้ บุคคลเหตุ+วัตถุเหตุ ความสัมพันธ์ เนื้อหาของความรู้ + รูปแบบของความรู้ (การคิดหาเหตุผล) (ประสบการณ์) วัตถุดิบ Fact Real Truth สากลและจำเป็น (universal and necessary)

กระบวนการความรู้ Relation วิธีศึกษา Subject ผู้รู้ (ผู้ศึกษา) เชื่อมความสัมพันธ์ ในลักษณะแยกกันหรือรวมกัน Subject ผู้รู้ (ผู้ศึกษา) Object สิ่งที่ถูกศึกษา Scientific method Interpretation แยกกัน กระบวนการความรู้ ความรู้เชิงวิชาการ รู้เพื่อรู้ไม่สัมพันธ์กับค่าทางศีลธรรม ไม่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เป็นผลงานของการใช้เหตุผลในสมองเท่านั้น

ขอบเขตของความรู้ ความรู้ Space and Time ขอบเขตความสามารถของมนุษย์ในการรับรู้ความจริง ความรู้ Space and Time

ความสมเหตุสมผลของความรู้ ทฤษฎีความจริง (Theory of Truth) หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตัดสินประพจน์ใดประพจน์หนึ่งว่าจริงหรือไม่ แบ่งเป็น 3 ทฤษฎี คือ....... ทฤษฎีเชื่อมนัย (Coherence theory) ประพจน์หนึ่งจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อสอดคล้องกับความรู้เดิมที่มีอยู่ เช่น ความรู้เดิมที่ว่า “ไม้ย่อมลอยน้ำ” ดังนั้นถ้ามีคนมาบอกเราว่า “แผ่นกระดานลอยน้ำ” เราย่อมเชื่อว่าประพจน์เป็นจริง จุดอ่อน คือ ถ้าความรู้เดิมผิดการตัดสินย่อมผิดพลาดได้ (นักปรัชญากลุ่มจิตนิยมและเหตุผลนิยม)

ทฤษฎีสมนัย (Correspondence theory) ประพจน์หนึ่งจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อมันตรงกับข้อเท็จจริง (fact) เช่น นายแดงกล่าวว่า “เชียงใหม่อยู่ทางทิศเหนือของกรุงเทพฯ” เมื่อเราดูแผนที่ก็จะพบว่าประพจน์นี้เป็นจริง จุดอ่อน คือ ความรู้ที่จริงในปัจจุบันอาจไม่จริงในอนาคตได้ซึ่งทำให้เราไม่อาจมีความรู้ที่แน่นอนตายตัวได้ (นักปรัชญากลุ่มสัจนิยม และประสบการณ์นิยม) 3. ทฤษฎีปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ประพจน์หนึ่งจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อนำมาใช้ในทางปฏิบัติได้ เช่น ความจริงเกี่ยวกับการนำเมล็ดถั่วเหลืองมาสกัดเป็นน้ำมันพืชได้ จุดอ่อน คือ มีความจริงอีกมากที่เรานำมาปฏิบัติไม่ได้ หรือไม่เกิดผลที่น่าพอใจ (นักปรัชญากลุ่มปฏิบัตินิยม)

แหล่งที่มาของความรู้

แหล่งที่มาของความรู้ (sources of knowledge) ของมนุษย์คืออะไร เหตุผลนิยมมีทัศนะว่า มนุษย์สามารถมีความรู้เกี่ยวกับโลกได้โดยอาศัยเหตุผล เหตุผล จิต ความคิด ประสบการณ์

ความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด ความคิด innate idea จิต เหตุผล ประสบการณ์ วิธีการขุด ความรู้ในจิต ความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด

เหตุผลนิยม (Rationalism) มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด (innate idea) ซึ่งความรู้นั้นจัดว่าเป็นความรู้ที่แท้จริง เป็นอิสระจากประสบการณ์ (a priori knowledge) ถือว่าเป็นความรู้ที่แน่นอนตายตัว ที่เรียกว่า ความจริงที่จำเป็น (necessary truth) กิจกรรมทางปัญญา คือ การคิดตามเหตุผลซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่สามารถนำมนุษย์ไปสู่ความรู้ที่แน่นอนได้ ใช้วิธีการนิรนัย (Deduction) ในการแสวงหาความรู้

นักปรัชญาในกลุ่มเหตุผลนิยม เรอเน เดการ์ตส์ (Rene Decartes : 1596 – 1650) บารุค สปิโนซา (Baruch Spinoza : 1632 – 1677) คอทฟริด วินเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิช (Cottfried Wilhelm Von Leibniz : 1646 – 1716) 1 2

เราต้องเริ่มสร้างปรัชญาของตัวเราเองขึ้นมา เราไม่อาจไว้ใจความเห็นที่เราได้ยินมาได้ เราต้องเริ่มสร้างปรัชญาของตัวเราเองขึ้นมา ออกเดินทางเพื่อแสวงหาความรู้ไม่ว่าจะอยู่ในตัวเราเองหรือใน “มหาวิทยาลัยชีวิต”

มีอะไรบ้างที่เราสามารถรู้ได้ อะไรคือความรู้ที่แน่นอน กายกับจิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

เรอเน เดการ์ตส์ (Rene Decartes : 1596 – 1650) บิดาของปรัชญาสมัยใหม่ ผู้ถือว่า “มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด” (Innate Idea) ความรู้ในใจของมนุษย์นั้นก็เหมือนกับน้ำที่มีอยู่ในแผ่นดิน ถ้ารู้จักวิธีการขุดก็จะทำให้สามารถค้นพบน้ำคือความรู้ในจิตของมนุษย์ได้อย่างไม่ยาก

ความสงสัย ตัวผู้สงสัย ผู้ใดมีความคิด ผู้นั้นต้องมีอยู่ (ข้าพเจ้าคิด ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงมีอยู่) ความคิด ตัวเราผู้สงสัยมีอยู่ ความสงสัย ตัวผู้สงสัย ทำหน้าที่สงสัย ความสงสัยสากล การหาบทสรุปที่แจ่มชัด ชัดเจนทั้งข้อเสนอและข้อสรุป

ความรู้ต้องเป็นสิ่งแน่นอน ถ้ายังอยู่ในขั้นที่สงสัยได้ หรือน่าสงสัย ยังไม่จัดเป็นความรู้ พื้นฐานความรู้ควรเริ่มจากความจริงที่ง่ายที่สุดและแจ่มแจ้งที่สุด แล้วไปสู่ความจริงที่ซับซ้อนไปตามลำดับ

เดการ์ตแบ่งความรู้ออกเป็น 3 ระดับ 1. ความรู้ระดับประสบการณ์ 2. ความรู้ระดับจินตนาการ 3. ความรู้ระดับฝังแน่นอยู่ในตัว (innate idea)

กฎ 4 ข้อ กับการแสวงหาความรู้ 1.ไม่ยอมรับความจริงใดเลย เว้นแต่เห็นแจ่มแจ้งว่าจริง 2.วิเคราะห์ข้อยุ่งยากแต่ละข้อออกเป็นหน่วยย่อยที่สุดที่จะทำได้ เพื่อจะได้พิจารณาเรื่องนั้น ๆ ได้ดีขึ้น 3. ดำเนินความคิดไปตามลำดับ จากง่ายไปหากยาก 4. ตรวจดูทุกองค์ประกอบให้ถี่ถ้วน ครอบคลุมทุกแง่มุม จนได้ชื่อว่าไม่มีอะไรรอดพ้นสายตาไปได้ก่อนการตัดสิน เมื่อดำเนินครบทั้ง 4 ข้อ เราสามารถได้ความรู้ที่แน่นอน