ขอบเขตการศึกษาของญาณวิทยา (epistemology) ศึกษาเรื่องบ่อเกิดของความรู้ ศึกษาเรื่องธรรมชาติของความรู้ ศึกษาเรื่องขอบเขตของความรู้ ศึกษาเรื่องความสมเหตุสมผลของความรู้
วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ญาณวิทยา เศรษฐศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ศาสนา
บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์ บ่อเกิด / ที่มา จุดเริ่มต้น เหตุผล+ประสบการณ์
สากลและจำเป็น (universal and necessary) ธรรมชาติของความรู้ บุคคลเหตุ+วัตถุเหตุ ความสัมพันธ์ เนื้อหาของความรู้ + รูปแบบของความรู้ (การคิดหาเหตุผล) (ประสบการณ์) วัตถุดิบ Fact Real Truth สากลและจำเป็น (universal and necessary)
กระบวนการความรู้ Relation วิธีศึกษา Subject ผู้รู้ (ผู้ศึกษา) เชื่อมความสัมพันธ์ ในลักษณะแยกกันหรือรวมกัน Subject ผู้รู้ (ผู้ศึกษา) Object สิ่งที่ถูกศึกษา Scientific method Interpretation แยกกัน กระบวนการความรู้ ความรู้เชิงวิชาการ รู้เพื่อรู้ไม่สัมพันธ์กับค่าทางศีลธรรม ไม่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เป็นผลงานของการใช้เหตุผลในสมองเท่านั้น
ขอบเขตของความรู้ ความรู้ Space and Time ขอบเขตความสามารถของมนุษย์ในการรับรู้ความจริง ความรู้ Space and Time
ความสมเหตุสมผลของความรู้ ทฤษฎีความจริง (Theory of Truth) หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตัดสินประพจน์ใดประพจน์หนึ่งว่าจริงหรือไม่ แบ่งเป็น 3 ทฤษฎี คือ....... ทฤษฎีเชื่อมนัย (Coherence theory) ประพจน์หนึ่งจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อสอดคล้องกับความรู้เดิมที่มีอยู่ เช่น ความรู้เดิมที่ว่า “ไม้ย่อมลอยน้ำ” ดังนั้นถ้ามีคนมาบอกเราว่า “แผ่นกระดานลอยน้ำ” เราย่อมเชื่อว่าประพจน์เป็นจริง จุดอ่อน คือ ถ้าความรู้เดิมผิดการตัดสินย่อมผิดพลาดได้ (นักปรัชญากลุ่มจิตนิยมและเหตุผลนิยม)
ทฤษฎีสมนัย (Correspondence theory) ประพจน์หนึ่งจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อมันตรงกับข้อเท็จจริง (fact) เช่น นายแดงกล่าวว่า “เชียงใหม่อยู่ทางทิศเหนือของกรุงเทพฯ” เมื่อเราดูแผนที่ก็จะพบว่าประพจน์นี้เป็นจริง จุดอ่อน คือ ความรู้ที่จริงในปัจจุบันอาจไม่จริงในอนาคตได้ซึ่งทำให้เราไม่อาจมีความรู้ที่แน่นอนตายตัวได้ (นักปรัชญากลุ่มสัจนิยม และประสบการณ์นิยม) 3. ทฤษฎีปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ประพจน์หนึ่งจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อนำมาใช้ในทางปฏิบัติได้ เช่น ความจริงเกี่ยวกับการนำเมล็ดถั่วเหลืองมาสกัดเป็นน้ำมันพืชได้ จุดอ่อน คือ มีความจริงอีกมากที่เรานำมาปฏิบัติไม่ได้ หรือไม่เกิดผลที่น่าพอใจ (นักปรัชญากลุ่มปฏิบัตินิยม)
แหล่งที่มาของความรู้
แหล่งที่มาของความรู้ (sources of knowledge) ของมนุษย์คืออะไร เหตุผลนิยมมีทัศนะว่า มนุษย์สามารถมีความรู้เกี่ยวกับโลกได้โดยอาศัยเหตุผล เหตุผล จิต ความคิด ประสบการณ์
ความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด ความคิด innate idea จิต เหตุผล ประสบการณ์ วิธีการขุด ความรู้ในจิต ความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
เหตุผลนิยม (Rationalism) มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด (innate idea) ซึ่งความรู้นั้นจัดว่าเป็นความรู้ที่แท้จริง เป็นอิสระจากประสบการณ์ (a priori knowledge) ถือว่าเป็นความรู้ที่แน่นอนตายตัว ที่เรียกว่า ความจริงที่จำเป็น (necessary truth) กิจกรรมทางปัญญา คือ การคิดตามเหตุผลซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่สามารถนำมนุษย์ไปสู่ความรู้ที่แน่นอนได้ ใช้วิธีการนิรนัย (Deduction) ในการแสวงหาความรู้
นักปรัชญาในกลุ่มเหตุผลนิยม เรอเน เดการ์ตส์ (Rene Decartes : 1596 – 1650) บารุค สปิโนซา (Baruch Spinoza : 1632 – 1677) คอทฟริด วินเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิช (Cottfried Wilhelm Von Leibniz : 1646 – 1716) 1 2
เราต้องเริ่มสร้างปรัชญาของตัวเราเองขึ้นมา เราไม่อาจไว้ใจความเห็นที่เราได้ยินมาได้ เราต้องเริ่มสร้างปรัชญาของตัวเราเองขึ้นมา ออกเดินทางเพื่อแสวงหาความรู้ไม่ว่าจะอยู่ในตัวเราเองหรือใน “มหาวิทยาลัยชีวิต”
มีอะไรบ้างที่เราสามารถรู้ได้ อะไรคือความรู้ที่แน่นอน กายกับจิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เรอเน เดการ์ตส์ (Rene Decartes : 1596 – 1650) บิดาของปรัชญาสมัยใหม่ ผู้ถือว่า “มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด” (Innate Idea) ความรู้ในใจของมนุษย์นั้นก็เหมือนกับน้ำที่มีอยู่ในแผ่นดิน ถ้ารู้จักวิธีการขุดก็จะทำให้สามารถค้นพบน้ำคือความรู้ในจิตของมนุษย์ได้อย่างไม่ยาก
ความสงสัย ตัวผู้สงสัย ผู้ใดมีความคิด ผู้นั้นต้องมีอยู่ (ข้าพเจ้าคิด ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงมีอยู่) ความคิด ตัวเราผู้สงสัยมีอยู่ ความสงสัย ตัวผู้สงสัย ทำหน้าที่สงสัย ความสงสัยสากล การหาบทสรุปที่แจ่มชัด ชัดเจนทั้งข้อเสนอและข้อสรุป
ความรู้ต้องเป็นสิ่งแน่นอน ถ้ายังอยู่ในขั้นที่สงสัยได้ หรือน่าสงสัย ยังไม่จัดเป็นความรู้ พื้นฐานความรู้ควรเริ่มจากความจริงที่ง่ายที่สุดและแจ่มแจ้งที่สุด แล้วไปสู่ความจริงที่ซับซ้อนไปตามลำดับ
เดการ์ตแบ่งความรู้ออกเป็น 3 ระดับ 1. ความรู้ระดับประสบการณ์ 2. ความรู้ระดับจินตนาการ 3. ความรู้ระดับฝังแน่นอยู่ในตัว (innate idea)
กฎ 4 ข้อ กับการแสวงหาความรู้ 1.ไม่ยอมรับความจริงใดเลย เว้นแต่เห็นแจ่มแจ้งว่าจริง 2.วิเคราะห์ข้อยุ่งยากแต่ละข้อออกเป็นหน่วยย่อยที่สุดที่จะทำได้ เพื่อจะได้พิจารณาเรื่องนั้น ๆ ได้ดีขึ้น 3. ดำเนินความคิดไปตามลำดับ จากง่ายไปหากยาก 4. ตรวจดูทุกองค์ประกอบให้ถี่ถ้วน ครอบคลุมทุกแง่มุม จนได้ชื่อว่าไม่มีอะไรรอดพ้นสายตาไปได้ก่อนการตัดสิน เมื่อดำเนินครบทั้ง 4 ข้อ เราสามารถได้ความรู้ที่แน่นอน