การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (EXERCISE FOR THE ELDERLY)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
หน่วยโรคข้อและโรคภูมิแพ้ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
Thyroid.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
โรคเอสแอลอี.
การจัดระบบในร่างกาย.
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
การตรวจชีพจรและวัดความดันโลหิต
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
โรคเบาหวาน ภ.
โรคเบาหวาน Diabetes.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly) รศ.พญ.วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล จัดทำโดย นายวึรวัฒน์ จิตจูง

การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING) การวัดความสามารถในการออกกำลังกายนั้น เราวัดที่ Physical working capacity (PWC) หรืออีกนัยหนึ่งคือ Aerobic power (VO2max) ซึ่งนิยมใช้กันทั่วไปและเป็นที่ ยอมรับอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตามการทำงานของ กล้ามเนื้อของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีความสามารถเพียง พอที่จะทำให้ระบบหัวใจและปอดทำงานอย่างเต็มที่ ดังนั้น การทดสอบความสามารถในการออกำลังกายจึงมี 2 ระดับ

ข้อบ่งชี้ในการหยุดทดสอบการออกกาลังกาย 1. มีอาการแน่นหน้าอก 2. เหนื่อยมาก หรือผู้ทดสอบขอหยุดการทดสอบ 3. วิงเวียนศีรษะ หน้าซีด จะเป็นลม 4. ความดันซีสโตลิกลดลงในขณะเพิ่มความหนัก ในการออกกำลังกาย 5. ความดันโลหิตเพิ่มสูงมากๆ เช่น ความดันซิสโตลิก เพิ่มมากกว่า 250 มม.ปรอท หรือ ความดันไดแอสโตลิกเพิ่มมากกว่า 120 มม.ปรอท

หรือ down slopping ST segment depression หรือ elevation มากกว่า 2 มม. 6. การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบ horizontal หรือ down slopping ST segment depression หรือ elevation มากกว่า 2 มม. 7. พบSupraventricular Tachycardia 8. พบ Ventricular Tachycardia 9. พบ Second or third degree heart block

ข้อควรระวัง ข้อจากัด และปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการออกกาลังกายในผู้สูงอายุ 1. ในผู้สูงอายุที่ไม่เคยมีการออกกาลังกายมาก่อน ให้เริ่มจากการออกกาลังกาย เบาๆ ค่อยๆ เพิ่มความหนักของการออกกาลังอย่างช้าๆ โดยสังเกตการเต้นของ ชีพจร และอาการหอบเหนื่อย 2. ควรมีระยะอุ่นเครื่องเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนออกกาลังกาย จะช่วย เพิ่มปริมาณเลือดไปยังกล้ามเนื้อส่วนปลาย ช่วยเพิ่มอุณหภูมิของเนื้อเยื่อต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งจะมีประโยชน์คือป้องกันการบาดเจ็บต่อระบบข้อต่อและ กล้ามเนื้อได้ เนื่องจากในผู้สูงอายุจะพบการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อ ทำให้ความ ยืดหยุ่นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันลดลงกว่าในวัยหนุ่มสาว 3-4 เท่า จึงควรมีการอุ่น เครื่อง เพื่อช่วยป้องกันการฉีกขาดของเอ็นและกล้ามเนื้อเสมอ 3. ระยะผ่อนคลาย เป็นช่วงเวลาที่ระบบต่างๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะระบบ ไหลเวียนกาลังปรับตัว เพื่อคืนสู่สภาวะปกติ จึงสำคัญมากในผู้สูงอายุ เนื่องจาก ขณะออกกาลังกาย จะมีการสูบฉีดเลือดไปยังกล้ามเนื้อแขนและขาในปริมาณที่ มากกว่าปกติ 4 – 5 เท่า เมื่อหยุดออกกาลังกายทันที ยังไม่กลับคืนสู่ปกติร่วมกับ ขาดการ

4. ควรรู้จักอาการที่บ่งบอกว่าออกกาลังกายหนักเกินไป ได้แก่ ชีพจรขณะ ออกกาลังกายสูงกว่าค่าที่กำหนด นอนหลับไม่สนิทเหมือนปกติ วันรุ่งขึ้นยังมีอาการกล้ามเนื้อล้ามาก 5. ไม่อาบน้าทันทีหลังออกกาลังกาย ควรรออย่างน้อย 5-10 นาที ให้อุณหภูมิของร่างกายลดต่ำลง และไม่ควรใช้น้าที่ร้อนเกินไป 6. เลี่ยงการออกกาลังกายชนิดที่ต้องกลั้นหายใจ เนื่องจากจะทาให้ความดันโลหิตเพิ่มสูงได้ 7. หลีกเลี่ยงการแข่งขัน เนื่องจากความตื่นเต้นจะกระตุ้นระบบประสาท อัตโนมัติให้หลั่งสาร catecholamine และทาให้หัวใจเต้นผิดปกติได้ (ventricular arrhythmia) จัดทาโดย นายวีรวัฒน์ จิตจูง รหัส 5414652597