ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques สุธาสินี ศรีวิชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
หรือ ทักษะการเสริมกำลังใจ ทักษะการเสริมแรง หรือ ทักษะการเสริมกำลังใจ ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนย่อมมีความประสงค์ที่จะให้ผู้เรียนมีปฏิกิริยาตอบสนองและ มีส่วนร่วมในการเรียนการสอนเสมอ ดังนั้นการเสริมแรง Reinforcement จึงเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งที่ผู้สอนควรใช้ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความต้องการที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
ความหมายของทักษะการเสริแรง นักการศึกษาได้ให้ความหมายการเสริมแรง ไว้ดังนี้ 1. มาลินี จุฑะรพ 4. ฮัลล์ Clark L.Hull 2. จำเนียร ศิลปะวานิช 5. บุญทัน อยู่ชมบุญ 3. สุพิน บุญชูวงศ์
ความสำคัญของทักษะการเสริมแรง สกินเนอร์
ความมุ่งหมายของการเสริมแรง 1. เพื่อให้ผู้สอนทราบ และใช้วิธีการเสริมกำลังใจที่ถูกต้อง 2. เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้แสดงพฤติกรรมที่พึงปรารถนา 3. เพื่อส่งเสริมให้การเรียนการสอนบรรลุเป้าหมายได้ดียิ่งขึ้น 4. เพื่อช่วยเสริมบุคลิกภาพของผู้สอน 5. ให้ผู้เรียนรู้จักมองคนในแง่ดี และอบรมข้อเท็จจริง
ประเภทของการเสริมแรง การเสริมแรงที่ได้ผลมี 5 ประเภท คือ 1. การเสริมแรงด้วยวาจา 2. การเสริมแรงด้วยท่าทาง 3. การเสริมแรงด้วยการให้รางวัลและสัญลักษณ์ต่างๆ 4. การเสริมแรงด้วยการให้นักเรียนเห็นความก้าวหน้า 5. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเสริมแรง
ประเภทของการเสริมแรง การเสริมแรงที่ได้ผลมี 5 ประเภท คือ 1. การเสริมแรงด้วยวาจา 2. การเสริมแรงด้วยท่าทาง 3. การเสริมแรงด้วยการให้รางวัล และสัญลักษณ์ต่างๆ 4. การเสริมแรงด้วยการให้นักเรียน เห็นความก้าวหน้า 5. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเสริมแรง
หลักการเสริมแรง ในการเสริมแรงควรคำนึงถึงหลัก ดังต่อไปนี้ 1. ไม่สนหรือไม่เอาใจใส่ต่อพฤติกรรม ที่ไม่พึงประสงค์ 2. ควรเลือกเสริมแรงที่เด็กพอใจ 3. ควรเป็นการเสริมแรงที่ชัดเจน 4. ควรให้แรงเสริมมากกว่า 1 อย่าง 5. ควรให้แรงเสริมไปในทางบวก ฯลฯ
ขั้นตอนในการเสริมแรง 1. กำหนดจุดมุ่งหมาย 2. อธิบายพฤติกรรมที่ต้องการเปลี่ยน 3. ศึกษาวิธีสังเกตจากผู้รู้หรือตำราต่างๆ 4. จดบันทึกพฤติกรรมที่ต้องการเปลี่ยน 5. เลือกแรงเสริมหรือรางวัลที่เหมาะสม 6. จัดสถานการณ์ในการเสริมแรง 7. ทำการปรับพฤติกรรมอย่างมีระบบ 8. บันทึกและเปรียบเทียบพฤติกรรมก่อน-หลังการเสริมแรง 9. เมื่อบุคคลมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์จะไม่ใช้ความสนใจ
ตัวเสริมแรงที่ควรใช้ วิธีการให้แรงเสริม 1. ให้ความสนใจ การยอมรับ การให้คำชมเชย 2. การได้รับความสนใจ ตัวเสริมแรงที่ควรใช้ 1. การเสริมแรงทางสังคม 2. การเสริมแรงด้านกิจกรรมที่เด็กชอบ 3. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ 4. การใช้เบี้ยอรรถกร 5. การให้แรงเสริมแลกเปลี่ยน
ประโยชน์ของการเสริมแรง 1. ช่วยให้ผู้เรียนสนใจบทเรียนยิ่งขึ้น 2. ผู้เรียนกล้าแสดงออกมากขึ้น 3. ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจที่จะคิดค้นหาความรู้ยิ่งขึ้น 4. ผู้สอนเห็นความสำคัญ 5. ผู้สอนมีบุคลิกภาพดี 6. ส่งเสริมให้การเรียนบรรลุดียิ่งขึ้น 7. ช่วยให้ผู้เรียนประเมินตนเองได้ 8. เพื่อให้รู้จักมองโลกในแง่ดี
แนวคิดที่เกี่ยวกับทักษะการเสริมแรง 1. กำหนดพฤติกรรม 2. ให้แรงเสริมอย่างเหมาะสม 3. ต้องเป็นรางวัลที่ถูกกำหนดขึ้น 4. จำนวนแรงเสริมต้องยืดหยุ่นได้ 5. แสดงแรงเสริมให้เป็นที่ทราบ 6. ควรมีการเรียกแรงเสริมคืนเกิด พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ฯลฯ
ทฤษฎีการเสริมแรงของ ฮัลล์ 1. หลักการเรียนรู้ - สมมุติฐานแรก - สมมุติฐานของฮัลล์ 2. การเสริมแรงในทัศนะของฮัลล์ - การเสริมแรงปฐมภูมิ - การเสริมแรงทุติยภูมิ
การนำทฤษฎีของ ฮัลล์ ไปใช้ในการเรียนการสอน 1. การเรียนจะมีประสิทธิภาพต้องมีการตอบสนอง 2. ต้องคำนึงถึงช่วงเวลาด้วย 3. การเสริมแรงต้องมีขั้นตอน 4. เน้นให้ผู้เรียนเกิดความเชื่อมโยง 5. ควรสอนจากง่ายไปหายาก