การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Conductors, dielectrics and capacitance
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ O-NET
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
Electromagnetic Wave (EMW)
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
เครื่องเคาะสัญญาณ.
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
การแจกแจงปกติ.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
สนามไฟฟ้าและแรงทางไฟฟ้า
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
วิทยาศาสตร์ Next.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net วิชา ฟิสิกส์ ข้อที่ 23 -31 สหวิทยาเขต 4 สพม.เขต 26

ข้อ 23 . ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,000 ปี นักธรณีวิทยาค้นพบซากของสัตว์โบราณที่มีปริมาณธาตุกัมมันตรังสี X เหลืออยู่เพียง 6.25% ของปริมาณเริ่มต้น สัตว์โบราณนี้มีชีวิตโดยประมาณเมื่อกี่ปีมาแล้ว 1. 10,000 ปี 2. 15,000 ปี 3. 20,000 ปี 4. 25,000 ปี

วิเคราะห์ข้อ 23. สาระที่ 5 พลังงาน. มาตรฐาน ว 5 วิเคราะห์ข้อ 23. สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 ตัวชี้วัดที่ 9 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์ (การหาครึ่งชีวิตของธาตุ) แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 3. 20,000 ปี การหาช่วงครึ่งชีวิตของกัมมันตรังสี จาก 100 – 50 – 25 - 12.5 - 6.25 ได้ช่วงครึ่งชีวิตทั้งหมด 4 ช่วง ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,000 ปี x 4 ช่วง = 20,000 ปี แนวคิดเพิ่มเติม

24. วัตถุอันหนึ่งเมื่ออยู่บนโลกที่มีสนามโน้มถ่วง g พบว่ามีน้ำหนักเท่ากับ W1 ถ้านำวัตถุนี้ไปไว้บนดาวเคราะห์อีกดวงพบว่ามีน้ำหนัก W2 จงหามวลของวัตถุนี้ 1. W1/g 2. W2/g 3. (W1 + W2)/g 4. (W1 + W2)/2g  

วิเคราะห์ข้อ 24. สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่. มาตรฐาน ว 4 วิเคราะห์ข้อ 24. สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 1 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงโน้มถ่วง แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 1. W1/g จาก W=mg บนโลก W1=mg m = W1/g มวล (m) มีค่าคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง

1. เข็มทิศชี้ไปทางขวา 2. เข็มทิศชี้ไปทางซ้าย ข้อ 25. วางเข็มทิศอันหนึ่งบนโต๊ะ เข็มทิศชี้ขึ้นในลักษณะดังรูป ถ้านำประจุบวกไปวางไว้ทางด้านซ้ายของเข็มทิศ จะเกิดอะไรขึ้น 1. เข็มทิศชี้ไปทางขวา 2. เข็มทิศชี้ไปทางซ้าย 3. เข็มทิศชี้ลง 4. เข็มทิศชี้ทางเดิม เอกสารเพิ่มเติม

วิเคราะห์ข้อ 25. สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่. มาตรฐาน ว 4. 1 วิเคราะห์ข้อ 25. สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงนิวเคลียร์ แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 4. เข็มทิศชี้ทางเดิม ประจุไฟฟ้าไม่มีผลต่อเข็มทิศ ทำให้เข็มทิศชี้ทางเดิม (แต่มีผลใสนามแม่เหล็ก) http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electromagnetism/sub_lesson/8_2.htm

26. โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่รวมกันเป็นนิวเคลียสได้ ด้วยแรงใด 1 26. โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่รวมกันเป็นนิวเคลียสได้ ด้วยแรงใด 1. แรงดึงดูดระหว่างมวล 2. แรงไฟฟ้า 3. แรงแม่เหล็ก 4. แรงนิวเคลียร์ วิเคราะห์ข้อ 26 สาระที่ 4 มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงนิวเคลียร์ แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 4. แรงนิวเคลียร์ นิวคลีออนในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์ ซึ่งมีค่ามากกว่า แรงผลักทางไฟฟ้าระหว่างนิวคลีออน นิวคลีออนจึงอยู่รวมกันในนิวเคลียสได้

27. ในรูปซ้าย A และ B คือเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาค 2 อนุภาคที่ถูกยิงมาจากจุด P ไปทางขวาเข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก (ดูในรูปซ้าย) ถ้านำอนุภาคทั้งสองไปวางลงในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าดังรูปขวา จะเกิดอะไรขึ้น

1. A เคลื่อนที่ไปทางขวา ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางซ้าย 2 1. A เคลื่อนที่ไปทางขวา ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางซ้าย 2. A เคลื่อนที่ไปทางซ้าย ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางขวา 3. ทั้ง A และ B ต่างเคลื่อนที่ไปทางขวา 4. ทั้ง A และ B ต่างเคลื่อนที่ไปทางซ้าย สาระที่ 4 มาตรฐาน. ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 3 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า แนวคิดในการตอบ จากหลักการเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็ก ที่กล่าวว่า เมื่อประจุวิ่งเข้าไปในสนามแม่เหล็ก ถ้าประจุใดเป็นบวกจะมีพุ่งขึ้นส่วนประจุใดที่เป็นลบจะพุ่งลง จากภาพ ประจุ A พุ่งขึ้นจึงสรุปได้ว่า A เป็นประจุบวก ส่วน B พุ่งลงจึงสรุปได้ว่า B เป็นประจุลบ และเมื่อนำประจุดังกล่าวมาเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้า จะเห็นว่า A พุ่งไปทางขวา ส่วน B พุ่งไป

28. ยิงอนุภาคอิเล็กตรอนเข้าไปในแนวตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอที่มีทิศพุ่งออกจากกระดาษ เส้นทางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจะเป็นอย่างไร ( g แทนทิศสนามไฟฟ้าพุ่งออกและตั้งฉากกับกระดาษ) 1. เบนขึ้น 2. เบนลง 3. เบนพุ่งออกจากกระดาษ 4. เบนพุ่งเข้าหากระดาษ

ข้อ 28 สาระที่ 4 มาตรฐาน ว 4. 1 ตัวชี้วัดที่ 3 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ข้อ 28 สาระที่ 4 มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ 3 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า แนวคิดในการตอบ อิเล็กตรอนวิ่งเข้าสนามไฟฟ้าที่ มีทิศพุ่งออกทำให้ทิศของอิเล็กตรอนมีทิศพุ่งเข้าหากระดาษ

ข้อ 30 สาระที่ 4 มาตรฐาน .ว 4.2 ตัวชี้วัดที่1 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนที่ในแนวตรง แนวคิดในการตอบ พิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่

ข้อ 30 สาระที่.4 มาตรฐานว 4.2 ตัวชี้วัดที่ 1 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนที่ในแนวตรง แนวคิดในการตอบ พิจารณาถึงปริมาณที่อยู่บนแกนของกราฟ