การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

เลขยกกำลัง.
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
การดำเนินการของลำดับ
ความน่าจะเป็น Probability.
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม (Circular Permutation)
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
Counting.
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การนับเบื้องต้น Basic counting
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องและตั้งใจทำตามกำลังความสามารถของตนเอง ภายในเวลาที่กำหนดให้
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
แฟกทอเรียล (Factortial)
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่สิ่งที่ไม่แตกต่างกัน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ปัญหา คิดสนุก.
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่ Krulek Ut School

วิธีการนับโดยหลักการคูณ EX1 คนกลุ่มหนึ่งประกอบด้วยชาย 3 คน และหญิง 4 คน จงหาจำนวนวิธีที่จะเลือกตัวแทน 2 คน โดยเป็นชาย 1 คนและหญิง 1 คน วิธีทำ สมมติชาย 3 คนคือ ช1 ช2 ช3 และ หญิง 4 คนคือ ญ1 ญ2 ญ3 ญ4 (ช1,ญ1) ,(ช1,ญ2) ,(ช1,ญ3) ,(ช1,ญ4) (ช2,ญ1) ,(ช2,ญ2) ,(ช2,ญ3) ,(ช2,ญ4) (ช3,ญ1) ,(ช3,ญ2) ,(ช3,ญ3) ,(ช3,ญ4) จะเห็นว่า มีวิธีเลือกทั้งหมด 12 วิธี คือ

วิธีการนับโดยหลักการคูณ นิยาม 1 ถ้าการทำงานอย่างหนึ่งประกอบไปด้วยงาน 2 ชนิด โดยที่งานชนิดที่หนึ่งทำได้ วิธี และในแต่ละวีในการทำงานชนิดที่หนึ่งมีวิธีการทำงานชนิดที่สองได้ วิธี ดังนั้นจำนวนวิธีทั้งหมดของการทำงานเท่ากับ วิธี EX2 เรือโดยสารจากเขื่อนดินไปยังเขื่อนสิริกิต์มีทั้งหมด 20 ลำ จำนวนวิธีที่ชายคนหนึ่งจะเดินทางโดยเรือจากเขื่อนดินไปยังเขื่อนสิริกิต์ และเดินทางกลับจากเขื่อนสิริกิต์มาที่เขื่อนดินโดยขากลับนั่งเรือคนละลำกับขาไป มีกี่วิธี ตอบ 380 วิธี

วิธีการนับโดยหลักการคูณ EX3 จงหาวิธีการโยนเหรียญ 1 เหรียญพร้อมกับลูกเต๋า 1 ลูก วิธีทำ ผลจากการโยนเหรียญ 1 เหรียญมี 2 วิธี หน้าหัว และหน้าก้อย ผลการทอดลูกเต๋า 1 ลูกมี 6 วิธี เกิดแต้ม 1,2,3,4,5,6 ดังนั้นจำนวนวิธีทั้งหมดเท่ากับ 2 X 6 = 12 วิธี กฏข้อ2 ถ้างานอย่างแรกมีวิธีทำได้ วิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานอย่างแรกมีวิธีทำงานอย่างที่สองได้ วิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานอย่างที่สองมีวิธีทำงานอย่างที่สามได้ วิธี . ในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานอย่างที่ (k-1) มีวิธีทำงานได้อย่างที่ k ได้ วิธี ดังนั้น จำนวนวิธีทั้งหมดที่จะเลือกทำงาน k อย่างเท่ากับ วิธี

วิธีการนับโดยหลักการคูณ EX4 สถานีขนส่งมีชานชลาจอดรถโดยสารได้ทั้งหมด 7 ช่อง ถ้ามีรถโดยสารเข้าจอด 4 คัน จะมีวิธีจัดรถให้เข้าจอดได้กี่วิธี วิธีทำ รถโดยสารคันที่ 1 เลือกจอดได้ 7 วิธี รถโดยสารคันที่ 2 เลือกจอดได้ 6 วิธี รถโดยสารคันที่ 3 เลือกจอดได้ 5 วิธี รถโดยสารคันที่ 4 เลือกจอดได้ 4 วิธี ดังนั้นรถโดยสารทั้ง 4 คันเลือกจอดได้ 7 X 6 X 5 X 4 = 840 วิธี EX5 จำนวนเต็มคี่บวกสามหลักมีกี่จำนวนโดยที่แต่ละจำนวนมีตัวเลข ไม่ซ้ำกัน

วิธีการนับโดยหลักการบวก EX6 จำนวนเต็มบวกสามหลักมีกี่จำนวนที่หารด้วย 5 ลงตัว และแต่ละหลักมีตัวเลขไม่ซ้ำกัน วิธีทำ จำนวนที่หารด้วย 5 ลงตัวต้องมีหลักหน่วยเป็น 0 หรือ 5 ดังนั้นมีวิธีทั้งหมดเท่ากับ (1X9X8)+(1X8X8) = 72 + 64 = 136 วิธี ตัวเลขในหลักหน่วยเป็น 0 มี 1 วิธี ตัวเลขในหลักสิบเลือกได้ 9 วิธี ตัวเลขในหลักร้อยเลือกได้ 8 วิธี ตัวเลขในหลักหน่วยเป็น 5 มี 1 วิธี ตัวเลขในหลักสิบเลือกได้ 8 วิธี ตัวเลขในหลักร้อยเลือกได้ 8 วิธี กฏข้อ3 ถ้าการทำงานอย่างหนึ่งประกอบด้วยวิธีทำงาน 2 วิธี แต่ละวิธีของการทำงานไม่เกิดซ้ำซ้อนกัน งานอย่างแรกทำได้ วิธี และงานอย่างที่สองทำได้ วิธี จำนวนวิธีที่จะทำงานนี้เท่ากับ วิธี

วิธีการนับโดยหลักการบวก EX7 นายกังนำมีเพื่อน 4 คน ซึ่งเขาอาจจะเชิญเพื่อนมาทานอาหารเช้าด้วยกันหนึ่งคนหรือหลายคนก็ได้ เขาจะมีวิธีเชิญได้กี่วิธีต้องเชิญอย่างน้อยหนึ่งคน เชิญ 1 คน ได้ 4 วิธี เชิญ 2 คน ได้ 6 วิธี เชิญ 3 คน ได้ 3 วิธี เชิญ 4 คน ได้ 1วิธี รวมวิธีเชิญทั้งหมด 4+6+3+1 = 14 วิธี กฎข้อ 4 ถ้าการทำงานอย่างหนึ่งประกอบไปด้วยงาน k อย่าง แต่ละวิธีของการทำงานไม่เกิดซ้ำซ้อนกัน วิธีที่ 1 มีวิธีการทำงาน วิธี วิธีที่ 2 มีวิธีการทำงาน วิธี . วิธีที่ k มีวิธีการทำงาน วิธี ดังนั้น จำนวนวิธีของการทำงานนี้จะเท่ากับ วิธี

วิธีเรียงสับเปลี่ยน นิยาม แฟคทอเรียล (Factorial) ข้อสังเกต กำหนดให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก แฟคทอเรียล n เขียนแทนด้วย nโดยที่ n! = 12  3  …  (n-2)  (n-1)  n ข้อสังเกต เราสามารถเขียน n! ให้อยู่ในรูปของแฟคทอเรียลของจำนวนใด ๆ ที่มีค่าน้อยกว่า n ได้ดังนี้ n! = n  (n-1)! 1! = 1  0! = 1 2! = 2  1! = 2 3! = 3  2! = 6 ถ้าให้ n= 1 จะได้ว่า ; จาก n! = n(n-1)! 1! = 1(1-1)! 1 = 1(0!) นั่นคือ 0! = 1

จงหาค่าของ จงหาค่าของ 1) ถ้า r เป็นจำนวนเต็มบวกซึ่ง แล้ว 1) 4! = 4  3  2  1 = 24 = 7  6  5  4  3  2 1 = 5040 2) 7! จงหาค่าของ 1) = = 42 = 2)

จงหาค่าของ แบบฝึกหัด 1. ถ้า n = 8 , r = 5 แล้ว มีค่าเท่าใด 5. จงเขียน n(n-1)(n-2)(n-3) ให้อยู่ในรูปแฟกทอเรียล 6. จงเขียน   ไม่ให้อยู่ในรูปแฟกทอเรียล