วิชาว่าความและ การถามพยาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กฎหมายมรดก.
Advertisements

กฎหมายอาญาภาคทั่วไป ผศ. สุรวุธ กิจกุศล.
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
อุทธรณ์.
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
หลักเกณฑ์การนำพยานหลักฐานเข้าสู่สำนวนคดี
บทที่ 2 ขอบเขตการใช้กฎหมาย
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
การกำหนดประเด็นสอบสวน
คำแนะนำในการตอบข้อสอบ
บทที่17 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
สถานที่ปฏิบัติสหกิจ สำนักอำนวยการประจำศาลจังหวัดปัตตานี
สหกิจศึกษา ศาลแขวงสงขลา
อำนาจและหน้าที่ของพนักงานอัยการ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
คำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ
ประภาศ คงเอียด ผู้พิพากษาศาลภาษีอากรกลาง
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
การตั้งเรื่องกล่าวหา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
มีคำสั่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนหรือให้สืบสวน
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การทุจริตทางทะเบียนและบัตร
กลุ่มที่ 3 แนวทางในการบูรณาการ การปราบปรามตามกฎหมายฟอกเงิน
กฎหมายที่หัวหน้างานควรรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การให้ข้อเท็จจริงในคดีปกครอง
ร่างพระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ....
Legal System Subject of Law
การสืบสวน.
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
ณ ห้องประชุม สป. ๑ ชั้น ๘ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
โดย... นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก ผู้อำนวยการสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดระยอง
หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา เรื่อง เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย โดย
PRT บริษัท ภูรีภาค จำกัด “แก่นแท้ของ พรบ. คุ้มครองแรงงานที่ควรรู้”
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณสุข
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตให้ทำการ สมรสก่อนนั้นได้
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
ศาลที่มีอำนาจชำระในคดีอาญา
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ส่วนที่ 2
ข่าว “เมาแล้วขับ” กับศาลไทย
การเขียนคำร้องตามมาตรา 41
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
รับรองการเกิด.
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาว่าความและ การถามพยาน

*ทบทวนก่อนมีเรื่อง* สาเหตุการฟ้องคดี คดีแพ่ง (ป.วิแพ่ง ม.55) บุคคลถูกโต้แย้งสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมาย บุคคลมีความจำเป็นต้องใช้สิทธิทางศาล คดีอาญา (ป.วิอาญา ม.2) “บุคคลจะรับโทษในทาง อาญาต่อเมื่อได้กระทำการอันกฎหมายบัญญัติว่า เป็นความผิดและมีการกำหนดบทลงโทษไว้”

ใครมีอำนาจฟ้องคดี? คดีแพ่ง 1. บุคคล (บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล) - อาจอยู่ในฐานะโจทก์ หรือจำเลย หรือผู้ร้องสอด 2. บุคคลที่ขอใช้สิทธิทางศาล (คดีไม่มีข้อพิพาท) - ผู้ร้อง หรือ ผู้คัดค้าน **ซึ่งสามารถดำเนินการได้ 3 วิธี ตามป.วิแพ่งม.60 1. ฟ้อง หรือร้องด้วยตนเอง และว่าความเอง 2. ฟ้อง หรือร้องด้วยตนเอง และแต่งทนายให้ว่าความ 3. ฟ้อง หรือร้องโดยตั้งตัวแทน และตั้งทนายให้ว่าความ

คดีอาญา 1. พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้อง - คดีความผิดต่อส่วนตัว - คดีความผิดต่อแผ่นดิน ** ต้องมีการร้องทุกข์ กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน 2. ผู้เสียหายเป็นโจทก์ฟ้องคดีเอง - อาจทำคำฟ้องเอง หรือแต่งตั้งทนายเข้าช่วยดำเนินคดีได้ หรือมอบอำนาจให้บุคคลอื่นฟ้องคดีแทนแต่การ ลงลายมือชื่อในท้ายคำฟ้อง ผู้เสียหายจะต้องลงชื่อด้วยตนเอง

จะฟ้องที่ศาลไหน? ศาลจังหวัด? ศาลแขวง? มูลคดีเกิด? ภูมิลำเนาโจทก์? ภูมิลำเนาจำเลย?

จะฟ้องทั้งทีต้องเตรียมอะไรบ้าง การฟ้องคดีแพ่ง ป.วิแพ่ง ม.172 1. คำฟ้องต้องทำเป็นหนังสือ 2. สภาพแห่งข้อหา นิติสัมพันธ์ หรือมูลเหตุ 3. ข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหา (การถูกโต้แย้งสิทธิ) 4. คำขอท้ายฟ้องที่ศาลบังคับจำเลยและปฏิบัติได้จริง 5. ค่าธรรมเนียมศาล (รวมทุกอย่าง ป.วิแพ่งม.149,150 และตาราง 1 ท้าย ป.วิแพ่ง)

คดีแพ่งเมื่อฟ้องศาลจะยุติลงหรือเสร็จสิ้นไปจากศาลได้โดย 1. โจทก์ถอนฟ้อง ป.วิแพ่ง ม.175 - ก่อนจำเลยยื่นคำให้การ ทำคำบอกล่าวต่อศาล - หลังจำเลยยื่นคำให้การ ทำคำร้อง+ส่งสำเนาให้ จำเลยและศาลจะถาม จำเลยว่าคัดค้านหรือไม่ 2. คู่ความประนีประนอมยอมความกัน ป.วิแพ่งม.138, ป.พ.พ.มาตรา850-852 - มีผลให้ข้อเรียกร้องเดิมระงับ - ทำในหรือนอกศาลก็ได้ *ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ*

3. การจำหน่ายคดี ป.วิแพ่ง ม.132 - เมื่อโจทก์ทิ้งฟ้อง หรือถอนฟ้อง หรือไม่มาศาลในวันนัด - เมื่อคู่ความทั้งสองฝ่ายขาดนัด - เมื่อโจทก์หรือผู้ร้องขัดทรัพย์ไม่หาประกันมาวางศาล - คู่ความฝ่ายหนึ่งมรณะและไม่มีผู้ใดเข้าแทนที่ - ศาลมีคำสั่งให้รวมคดี หรือแยกกัน เป็นเหตุให้ต้องโอน คดีไปศาลอื่น 4. การพิพากษา ป.วิแพ่ง ม.187

การฟ้องคดีอาญา ป.วิอาญา ม.158 1. ชื่อศาล วันเดือนปี ผู้ใดโจทก์ ผู้ใดจำเลย ฐานความผิด ชื่อตัว ชื่อสกุล เชื้อชาติ อายุ ที่อยู่ทั้งโจทก์ และจำเลย 2. บรรยายสถานะและอำนาจฟ้อง ของโจทก์ จำเลย 3. บรรยายลักษณะของการกระทำอันเป็นความผิด (โดย เจตนาหรือโดยประมาท 4. บรรยายถึงการกระทำผิด วัน เวลา สถานที่ ลักษณะของ การกระทำผิด บุคคลที่เกี่ยวข้อง

5. บรรยายถึงผลของการสอบสวน กรณีอัยการเป็นโจทก์ ฟ้อง และหากผู้เสียหายฟ้องเองก็ต้องระบุเหตุผลที่มา ฟ้องคดีเอง 6. ระบุชื่อกฎหมาย และเลขมาตราที่อ้างว่าเป็นความผิด 7. ต้องลงลายมือชืื่อโจทก์เท่านั้น เป็นผู้เรียง ผู้เรียง ผู้เขียน หรือผู้พิมพ์ ** การเขียนฟ้องต้องบรรยายข้อเท็จจริงให้ปรับเข้ากับองค์ประกอบความผิดตามกฎหมาย และต้องคำนึงถึงเวลากลางวันและกลางคืน เพราะโทษไม่เท่ากัน**

คดีแพ่งเมื่อฟ้องศาลจะยุติลงหรือเสร็จสิ้นไปจากศาลได้โดย 1. โจทก์ถอนฟ้อง (คดีอันยอมความได้ป.วิอาญา ม.39 (2) 2. คู่ความประนีประนอมกัน จำเลยรับสารภาพ และมี พฤติกรรมหลาบจำ ศาลจะพิพากษาให้รอการลงอาญา หรือ รอการลงโทษ 3. ศาลสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราว กรณีจำเลยหนี ต้องรอจนกว่า จะได้ตัวจำเลยมา 4. ศาลพิพากษาลงโทษ และจำเลยรับโทษ หรือศาลยกฟ้อง