การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to C Introduction to C.
Advertisements

โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
การจัดการความผิดพลาด
Processing Data Using MATLAB
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ทบทวน & ลุยโจทย์ (Midterm)
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Lecture 4: ทางเลือก, เงื่อนไขของทางเลือก
6. โครงสร้างข้อมูลแบบแฟ้ม
Structure Programming
Structure Programming
ทบทวน Array.
JavaScript.
Week 15 C Programming.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
ASP [# 9] การติดต่อข้อมูล Text Files
Lecture no. 10 Files System
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
Seree Chinodom Recordset Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
Seree Chinodom Connection Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
Functions & Sub Program ฟังก์ชันและโปรแกรมย่อย
SCC : Suthida Chaichomchuen
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
FUNCTION File Week 7 by Mr. Jiraphan Srisomphan. 2 แสดงชื่อไฟล์ในไดเรกทรอรี่ด้วย Dir() >Handle-> เก็บค่าเลขรหัสของได เรกทรอรี่ที่สร้างขึ้น >Path-> เก็บรายชื่อพาธของไดเรก.
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
ตัวแปรชุดของอักขระ String
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
1 นายทินวัฒน์ พงษ์ทองเมือง. 2 การเปิดให้ Program ทำงาน 3  p:\xampplite\ xampplite-control.exe  Start Apache.
หน่วยที่ 17 แอเรย์ของสตรัคเจอร์. แอเรย์ของข้อมูลสตรัคเจอร์ student_info student[30]; Student[0]Student[0].Name Student[0].Midterm Student[0].Assignment.
สตริง (String).
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 กรกฎาคม 2550 แฟ้มข้อความ (Text File) #1 มหาวิทยาลัยโยนก.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ทำงานกับ File และStream
การใช้ฟังก์ชั่นทาง EXCEL
รายงาน เรื่อง พื้นฐาน Microsoft Excel จัดทำโดย
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
คิว (Queue) Queue ADT Queue เป็น List ชนิดหนึ่ง แต่สำหรับ queue การแทรกข้อมูลลงบน queue (Insertion) จะทำที่ปลายใดปลายหนึ่งของ Queue ในขณะที่การลบข้อมูลออกจากคิว.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง
การพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
การเขียนผังงานแบบทำซ้ำ
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
Control Statements.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
โครงสร้าง ภาษาซี.
File & Directory Management การจัดการไฟล์และไดเรคทอรี
รายการ (Lis t) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Website : ict.up.ac.th/yeunyong.
Chapter 7: File แฟ้มข้อมูล Source of slides
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File

การเปิดไฟล์ ใช้คำสั่ง fopen มีรูปแบบดังนี้ int fopen(“พาธและชื่อไฟล์”, “โหมดการเปิดไฟล์”) file จะถูกเปิดจาก file system และจะมีการ return file pointer กลับมา หากไม่สามารถเปิด file ได้ function จะ return เท็จ mode ทั้งหมด มีดังนี้ 'r' เปิดเพื่ออ่านอย่างเดียว, file pointer ชี้ไปยังตำแหน่งเริ่มต้นของ file 'r+' เปิดเพื่ออ่านและเขียน, file pointer ชี้ไปยังตำแหน่งเริ่มต้นของ file

การเปิดไฟล์ 'w' เปิดเพื่อเขียนอย่างเดียว, file pointer ชี้ไปยังตำแหน่งเริ่มต้นของ file และทำการลบข้อมูลใน file ทั้งหมด หาก file ไม่มีอยู่จริง จะพยายามสร้าง file ใหม่ขึ้นมา 'w+' เปิดเพื่ออ่านและเขียน, file pointer ชี้ไปยังตำแหน่งเริ่มต้นของ file และทำการลบข้อมูลใน file ทั้งหมด หาก file ไม่มีอยู่จริง จะพยายามสร้าง file ใหม่ขึ้นมา 'a' เปิดเพื่อเขียนอย่างเดียว, file pointer ชี้ไปยังตำแหน่งสุดท้ายของ file (EOF:end of file) หาก file ไม่มีอยู่จริง จะพยายามสร้าง file ใหม่ขึ้นมา 'a+' เปิดเพื่ออ่านและเขียน, file pointer ชี้ไปยังตำแหน่งสุดท้ายของ file (EOF:end of file) หาก file ใหม่ขึ้นมา

ตัวอย่าง $FILE = fopen(“config.inf”, “r”); //ตรวจสอบถ้ามีข้อผิดพลาด if (!$FILE) { echo “<H1> ERROR, file not found </H1>” ; } else { print (“File Found”); }

การปิดไฟล์ ใช้คำสั่ง fclose ปิด file pointer ที่เปิดอยู่ ซึ่งจะ return ค่าเป็นจริงหากสามารถเปิด file pointer ได้มีรูปแบบคือ int fclose(int fp) ตัวอย่าง $FILE = fopen(“config.inf”, “r”); ….. fclose($FILE)

การอ่านข้อมูลจากไฟล์ทีละข้อความ string fread (ตัวแปรไฟล์, ความยาวที่จะอ่านเข้ามา) string fgets (ตัวแปรไฟล์, ความยาวที่จะอ่านเข้ามา) string fgetss (ตัวแปรไฟล์, ความยาวที่จะอ่านเข้ามา) รูปแบบการใช้ทั้ง 3 ฟังก์ชันจะคล้ายกัน

ตัวอย่าง <? $FILE = fopen( "info.txt" , "r" ); $text =fread($FILE, 20 ); print (“$text <BR>”); fclose( $FILE ); ?>

การใช้ fgets, fgetss Fgets จะอ่านไปจนถึงท้ายบรรทัดจึงถือว่าเป็นการอ่าน 1 ครั้ง <? $FILE = fopen( "info.txt" , "r" ); echo “Each time read 20 characters” ; $text =fgets($FILE, 20 ); print (“data = $text <BR>”); fclose( $FILE ); ?>

การใช้ fgets, fgetss fgetss ทำงานเหมือน fgets แต่จะตัดแท็ก HTML ออกไป <? $FILE = fopen( ”bookmark.htm" , "r" ); while (!feof($FILE)) { $text =fgetss($FILE, 255 ); print (“$text <BR>”) ; } fclose( $FILE ); ?>

การอ่านข้อมูลจากไฟล์ทีละตัวอักษร ใช้ฟังก์ชัน fgetc ตัวอย่าง <? $FILE = fopen( "info.txt" , "r" ); $char = fgetc($FILE); print (“Character is $char”); fclose( $FILE ); ?>

การอ่านข้อมูลจากไฟล์ทีละตัวอักษรทั้งไฟล์ <? $FILE = fopen( "info.txt" , "r" ); while (!feof($FILE)) { $char = fgetc($FILE); print (“$char”) ; } fclose( $FILE ); ?>

ตัวอย่างการประยุกต์ ตรวจสอบว่ามีอักษร a กี่ตัวในไฟล์ <? $FILE = fopen( "info.txt" , "r" ); while (!feof($FILE)) { print (“$char”) ; $char = fgetc($FILE); if(($char == “a”) ||($char ==“A” )){ $a++ } fclose( $FILE ); print “<BR><BR> Have ‘a’ = $a”; ?>

การเขียนไฟล์ Int fwrite(ตัวแปรไฟล์,ข้อมูลที่ต้องการเขียน,ความยาว) Int fputs(ตัวแปรไฟล์,ข้อมูลที่ต้องการเขียน,ความยาว) ตัวอย่าง <? $FILE = fopen( ”myinfo" , ”w" ); fputs( $FILE, “My name is Oh”); echo “write file” ; fclose( $FILE ); ?>

การเขียนไฟล์ $fname =“somsak” ; $lname=“sansook”; fputs($FILE, “My name is $fname.\r\n”); fputs($FILE, “My name is $lname.\r\n”);

<? $data = file("info.txt"); $FILE = fopen( "info.htm" , "w" ); fputs( $FILE , "<html><body>" ); fputs( $FILE , "<font color=blue>" ); for ( $i=0; $i<count($data) ; $i++ ) { fputs( $FILE , $data[$i] . "<br>" ); } fputs( $FILE , "</html></body>" ); fclose( $FILE ); echo "write info.htm in HTML format"; ?>

ฟังก์ชัน rewind ใช้ย้ายfile pointer กลับมาต้นไฟล์ <? $FILE = fopen( "info.txt" , ”r" ); $text =fgets($FILE, 50); print “text is $text <BR>”; rewind( $FILE ); print “ Again text is $text <BR>”; fclose( $FILE ); ?>

ฟังก์ชัน fseek ใช้ย้ายfile pointer กลับไปยังตำแหน่งที่ต้องการ เช่นต้องการอ่านอักขระตัวที่ 101-150 จากไฟล์info.txt <? $FILE = fopen( "info.txt" , ”r" ); fseek($FILE, 101); $text =fgets($FILE, 50); print “text is <U>$text </U>”; fclose($FILE); ?>

ฟังก์ชัน ftell ใช้บอกตำแหน่งของ file pointer ว่าอยู่ในตำแหน่งใด <? $FILE = fopen( "info.txt" , ”r" ); $pos = ftell($FILE); print “Position is <U>$pos </U>”; fclose(($FILE); ?>

การตรวจสอบไฟล์ file_exits ใช้ในการตรวจสอบว่ามีไฟล์อยู่หรือไม่ file_size ใช้ในการตรวจสอบขนาดของไฟล์ <? $f = "info.txt” ; if ( file_exits( $f ) ) { print “Found $f” ; } else { print “Not found $f” ; } ?>